Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.2บุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ - Coggle Diagram
บทที่ 5.2บุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ความหมายของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ความผิดปกติทางเพศ (sexual dysfunctions) เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติที่รบกวนความสามารถของบุคคลในการตอบสนองทางเพศหรือการมีความสุขทางเพศ
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง (gender dysphoria) เป็นความรู้สึกอึดอัดคับข้องใจที่เกิดจากความไม่สอดคล้องกันของเพศที่จิตใจต้องการเป็นกับเพศกําเนิดที่เป็นอยู่
พฤติกรรมทางเพศที่วิปริต (paraphilic dysfunctions) เป็นความผิดปกติที่บุคคลมีจินตนาการ
อารมณ์เร้าทางเพศ หรือการแสดงออกทางพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ใช่วิธีปกติที่คนท่ัวไปกระทํา:
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
1.ภาวะหลั่งช้า
2.ความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของอวัยวะเพศชาย
3.ความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกถึงจุดสุดยอดในหญิง
4.ความผิดปกติเกี่ยวกับความสนใจ
5.การเจ็บปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
6.การมีความต้องการทาวเพศน้อยผิดปกติในชาย
สาเหตุ การบําบัดรักษาของบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ
ความบกพร่องในหน้าที่ทางเพศ (sexual dysfunctions)
1.ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะหลั่งช้า
2.ปัจจัยที่มีผลต่อความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของอวัยวะเพศชาย
3.ปัจจัยที่มีผลต่อความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกถึงจุดสุดยอดในหญิง
ปัจจัยที่มีผลต่อความผิดปกติเกี่ยวกับความสนใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจ็บปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
ภาวะความไม่พึงพอใจในเพศตนเอง (gender dysphoria)
1.ปัจจัยทางชีวภาพ
2.ปัจจัยทางจิตสังคม
การบำบัดรักษา
การรักษาผู้ใหญ่ที่เป็น gender dysphoria มีทั้งการทําจิตบําบัด (psychotherapy) เพื่อช่วยสํารวจ ประเด็นปัญหาทางสุขภาพจิตและการรักษาด้วยฮอร์โมนเพศร่วมกับการรักษาด้วยการผ่าตัดซึ่งจะสามารถช่วยลดทั้ง อารมณ์เศร้าให้แก่ผู้ป่วยและช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้
1.บำบัดทางชีวภาพ
2.บำบัดทางจิตสังคม
การพยาบาลบุคคลท่ีมีความผิดปกติทางเพศ
การประเมินสภาพ (assessment)
1.ประวัติทั่วไป
2.ประวัติทางเพศในอดีต
3.ประวัติด้านสัมพัธภาพ
4.ประวัติทางเพศในปัจจุบัน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
-มีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตื่นเต้นทางเพศเนื่องจากความวิตกกังวลว่าจะตั้งครรภ์
-มีความบกพร่องในหน้าทที่างเพศจากการเจ็บป่วยด้วยโรคทางกาย
-มีความบกพร่องในหน้ท่ีทางเพศจากการถูกทารุณกรรมทางเพศในวัยเด็ก
การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล (planning and implementation)
ได้แก่
-การมีหน้าที่ทางเพศที่ดี
-ยอมรับตนเองทางเพศ
-มีแบบแผนการแสดงออกทางเพศที่มีประสิทธิภาพ
-จัดสิ่งแวดล้อมที่มีความป็นส่วนตัวและรักษาความลับของผู้ป่วย
การประเมินผลทางการพยาบาล (evaluation)
ได้แก่
ผู้ป่วยสามารถควบคุมอาการหรือความผิดปกติได้
มีความรู้สึกพึงพอใจในตนเองและคู่
ความรู้สึกทุกข์ใจ วิตกกังวลใจลดลง