Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศ…
บทที่ 3
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
1) การสูญเสีย (loss) 4 ประเภท
การสูญเสียภาพลักษณ์(loss of body image) : การสูญเสียอวัยวะในร่างกาย
การสูญเสียตามช่วงวัย (maturational loss) : เด็กที่ต้องหย่านมแม่การต้องออกจาก โรงเรียนเมื่อสำเร็จการศึกษา
การสูญเสียความรักหรือบุคคลสำคัญในชีวิต(loss of a love or a significant other) : การตายของบิดา มารดา ญาติพี่น้อง คู่สมรส บุตร เพื่อนสนิท
การสูญเสียสิ่งของภายนอก (loss of external object) : ทรัพย์สินเงินทอง ที่อยู่อาศัยหรือการถูกแยกจากสภาพแวดล้อมเดิม
3 ระยะ
ระยะพัฒนาการตระหนักรู้ถึงการสูญเสีย (developing awareness) : อาจเกิดขึ้นภายในไม่กี่นาทีหรือเป็นชั่วโมง ใช้เวลา 2 – 3 สัปดาห์แล้วจะดีขึ้นเองใน 2 – 4 เดือนโดยส่วนใหญ่จะไม่เกิน 6 เดือนภายหลังจากมีการสูญเสียเกิดขึ้น
ระยะพักฟื้น (restitution) : มีการปรับตัวเพื่อฟื้นคืนสู่ภาวะปกติ
ระยะช็อค (shock and disbelief) : เกิดความรู้สึกมีนชาใน 2 -3 ชั่วโมงถึง 2 -3 สัปดาห์
ความสามารถในการปรับตัว
บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่เข้มแข็งย่อมมีความสามารถในการปรับตัวต่อการสูญเสีย
สุขภาพแข็งแรงย่อมมีความสามารถในการปรับตัวต่อการสูญเสีย
ประสบการณ์การปรับตัวต่อการสูญเสียที่ผ่านมา
บุคคลที่มีแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ คอยกำลังใจสามารถปรับตัวต่อการสูญเสียได้ดี
การให้ความหมายต่อสิ่งที่สูญเสีย
2) ภาวะเศร้าโศก (grief) 2 ประเภท
- การเศร้าโศกแบบปกติ (normal grief) 2 ระยะ
ระยะเฉียบพลัน
ช่วง 4 – 8 สัปดาห์แรก
ไม่ยอมรับการสูญเสียที่เกิดขึ้น
อาการตื่นตะลึง ตัวชา และปฏิเสธ
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
มีความรู้สึกหายใจขัด ลำคอตีบตัน หมดแรง อ่อนเพลีย ตัวชา หน้ามืด คอแห้ง
มีความคิดหมกมุ่น รูปถ่าย เสื้อผ้า หรือสิ่งของที่เป็นของบุคคลที่สูญเสีย
- การเศร้าโศกแบบผิดปกติ (maladaptive grief)
• chronic grief reaction
มีภาวะเศร้าโศก อยู่เป็นเวลาหลายปี
ไม่สามารถขจัดความรู้สึก
• delayed grief reaction
ปฏิกิริยาเศร้าโศกที่ล่าช้า
ทำให้อาการเศร้าโศก อาจ
รุนแรงมากถ้าเกิดการกระตุ้น
การพยาบาล
การประเมิน
ประเมินระดับความรุนแรงของอาการ
ประเมินระดับการให้คุณค่า
ประสบการณ์การสูญเสียในอดีต
ประเมินลักษณะบุคลิกภาพของผู้ป่วย
เป้าหมายการพยาบาล
ระยะสั้น
เพื่อลดภาวะซึมเศร้า
เพื่อให้การรักษาพยาบาล ให้กลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัว
ระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะการยอมรับความจริงของชีวิตโดยเฉพาะในเรื่องการสูญเสีย
เพื่อฝึกการใช้วิธีในการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว ให้เกิดความไว้วางใจในตัวพยาบาล
พยายามรับฟังอย่างเข้าใจ ยอมรับในพฤติกรรม
ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสีย
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความรู้สึกค้างคาใจที่มีต่อผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วได้อย่าง
เหมาะสม
อยู่เป็นเพื่อนและเป็นกำลังใจผู้ป่วย
ส่งเสริมกิจกรรมที่จะนำไปสู่การสร้างความหวัง
จัดให้เข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัดร่วมกับผู้ป่วยที่มีปัญหาคล้าย ๆ กันเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ร่วมรู้สึก และให้กำลังใจซึ่งกันและกัน