Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเค…
บทที่ 3
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
ความวิตกกังวล
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย หรือตื่น
ตระหนกต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
ลักษณะอาการ
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย : หัวใจเต้นเร็ว หายใจลำบาก ท้องอืด อาการปัสสาวะบ่อย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มือสั่น
3) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม : ขาดความสนใจ ขาดความคิดริเริ่ม
2) การเบลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์ : รู้สึกหวาดหวั่นกลัว ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง มองตนเองไร้ค่าสับสน กระวนกระวาย ตกใจง่าย หงุดหงิด
4) การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญา : ความคิด ความจำลดลง คิดไม่ออก ครุ่นคิด หมกมุ่น ไม่ค่อยมีสมาธิ การพูดติดขัด
การตอบสนอง
2) พฤติกรรมชะงักงันหรือถดถอย (paralysis and retreating behavior)
3) มีการเจ็บป่วยทางกาย (somatizing)
1) พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการต่อสู้ (acting out behavior)
4) มีพฤติกรรมเผชิญความวิตกกังวลในเชิงสร้างสรรค์ (constructive behavior)
ระดับความวิตกกังวล
moderate anxiety +2 : มีความตื่นตัวมากขึ้น พยายาม
ควบคุมตนเองมากขึ้น และใช้ความพยายามในการแก้ปัญหาสูงขึ้น
severe anxiety +3 : บุคคลจะมีระดับสติสัมปชัญญะลดลง สมาธิในการรับฟังปัญหาและข้อมูลต่าง ๆลดลง
mild anxiety +1 : การเรียนรู้ดีขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์สามารถควบคุมตนเองได้มากขึ้น
panic anxiety +4 : เกรี้ยวกราด หวาดกลัวสุด
ขีด ควบคุมตนเองและรับรู้น้อยมากผิดไปจากความเป็นจริง
ชนิด 3 ระยะ
1) ความวิตกกังวลปกติ (normal anxiety) : กระตือรือร้นที่จะแก้ปัญหา การรับรู้ว่องไว และถูกต้อง
2) ความวิตกกังวลเฉียบพลัน (acute anxiety) : เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มีเหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคาม
3) ความวิตกกังวลเรื้อรัง (chronic anxiety) : เกิดจากการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวตั้งแต่เด็ก มีการเลี้ยงดูที่ไม่หมาะสม ขาดความรัก
ความเอาใจใส่
สาเหตุ
1) สาเหตุทางด้านชีวภาพ : caffeine lactate ที่
มีในเลือดสูง
2) สาเหตุทางด้านจิตสังคม : ความขัดแย้งกัน
ของ id และ superego ในระดับจิตใต้สำนึก เรียนรู้ต่อสิ่งอันตราย (noxious stimulus)
3) สาเหตุทางด้านสังคม : เกิดจาก
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี ในระยะ 2 ปีแรก
ความเครียด
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น (stressor)
ลักษณะอาการ
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย : มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ มีเสียงด้งในหู ปวดตามกล้ามเนื้อ อ่อนแรงไม่อยากทำอะไร
2) การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ : วิตกกังวล โกรธง่าย หงุดหงิด ซึมเศร้า ท้อแท้ การตัดสินใจไม่ดี สมาธิสั้น ขี้ลืม
3) การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม : ร้องไห้ กัดเล็บ ดึงผมตัวเอง รับประทานอาหารเก่ง ติดบุหรี่ สุรา ก้าวร้าว
การตอบสนอง
1) การตอบสนองด้านร่างกาย
ระยะเตือน (alarm reaction) : ระยะช็อก (shock phase) ทำหน้าที่หลั่งสารเอพิเนฟรินและคอร์ติโชน เวลาประมาณตั้งแต่ 1 นาที ถึง 24 ชั่วโมง
ระยะตอบสนองการช็อก (counter shock phase shock phase) : ร่างกายจะปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม
ระยะการต่อต้าน (stage of resistance) : ปรับตัวต่อต้านความเครียดเต็มที่
ระยะหมดกำลัง (stage of exhaustion) : ระยะการต่อต้านไม่สำเร็จ
2) การตอบสนองด้านจิตใจ
หนี หรือเลี่ย (flight)
ยอมรับและเผชิญกับความครียด (fight)
ชนิด 2 ระยะ
1) ความเครียดฉับพลัน (acute stress)
2) ความเครียดเรื้อรัง (chronic stress)
ระดับความเครียด
moderate stress : อาจรู้สึกวิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน
high stress : เหตุการณ์รอบตัวที่
แก้ใขจัดการปัญหานั้นไม่ได้รู้สึกขัดแย้ง
mild stress : ไม่คุกคามต่อการดำเนินชีวิต
severe stress : อารมณ์แปรปรวน มีอาการทางจิต มีความบกพร่อง
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจมีอาการนานเป็นสัปดาห์ เดือน หรือป
สาเหตุ
1) สาเหตุจากภายนอก: สภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ การย้ายถิ่นฐานที่อยู่ การเปลี่ยนงาน
2) สาเหตุภายในตัวบุคคล : ภาวะเจ็บปวยที่เผชิญอยู่ ความพิการ
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
การประเมินระดับความรุนแรงของความวิตกกังวล
สาเหตุของความวิตกกังวลและวิธีการผชิญกับภาวะวิตกกังวล
การประเมินความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
เป้าหมายการพยาบาล
ระยะสั้น
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยให้กลับปกติ
ระยะยาว
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้และเข้าใจถึงเหตุและผลของความวิตกกังวล
เพื่อปรับบุคลิกภาพและการใช้กลไทางจิตให้เหมาะสม
เพื่อขจัดความขัดแย้งและบรรเทาประสบการณ์ที่เจ็บปวดให้กับผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเพื่อปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความไม่สบายใจความทุกข์ใจ
ใช้คำพูดง่าย ๆ ข้อความสั้น ๆ กะทัดรัดได้ใจความตรงไปตรงมา
ให้กำลังใจโดยอาจสัมผัสผู้ป่วยเบา ๆ เพื่อผู้ป่วยให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ
นำผู้ป่วยออกจากสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวล
ดูแลป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและบุคคลอื่น อันเนื่องมาจากผู้ป่วย
ส่งเสริมให้ร่วมกิจกรรมที่ง่ายๆ ไม่ชับซ้อน ใช้เวลาสั้น เพื่อให้โอกาสผู้ป่วยพบความสำเร็จ
และเกิดความอบอุ่นใจ