Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจบ็ป่วยทางจิตเวช…
บทที่ 4
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจบ็ป่วยทางจิตเวช เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ความหมายเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (intellectual disability)
ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการท่ีสมองของเด็กหยุด พัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์ เป็นความบกพร่องของการทําหน้าที่ของสติปัญญาและการปรับตัว สง่ ผลให้เกิดความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ลักษณะอาการและอาการแสดงเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ต้องมีลักษณะประกอบกันของใน 3 ลักษณะได้แก่ ความ
บกพร่องทางสติปัญญา ความบกพร่องของการปรับตัว และภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัว
ความบกพร่องทางสติปัญญา
(deficits in intellectual function)
การให้เหตุผล การ แก้ปัญหาการวางแผนความคิดนามธรรมการตัดสินใจ
ความบกพร่องของการปรับตัว
(deficits in adaptive function)
ส่งผลให้บุคคลมีพัฒนาการ ท่ีไม่หมาะสม ไม่สามารถพึ่งพาตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมได้
3 ลักษณะที่ประกอบกันข้างต้นในเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1มีพัฒนาการล่าซ้ำ สามารถพบพัฒนาการที่ล่าช้ากว่าเกณฑ์ในทุกด้าน แต่จะมีพัฒนาการ
ล่าช้ามากหรือน้อยระดับใดนั้นข้ึนอยู่กับความรุนแรงของความบกพร่องทางสติปัญญา
2 มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา เด็กท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยจะไม
พบอาการหรือพฤติกรรมที่ผิดปกติจนกว่าจะถึงวัยเรียน
3 มีปัญหาด้านพฤติกรรม เด็กบางรายอาจพบว่ามีพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมซน อยู่ไม่นิ่ง ไม่มีสมาธิ และพฤติกรรมก้าวร้าว
4มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่ง ๆ เช่น ดาวน์ซินโดรม มีศีรษะขนาดเล็ก ตั้งจมูก แบน ตาห่าง หางตาช้ีขึ้น
พิจารณาจากความบกพร่อง
ในการทําหน้าท่ี 3 ด้าน
ความคิด (conceptual domain)
สังคม (social domain)
การปฏิบัติ (practical domain)
แบ่งระดับความรุนแรงของภาวะ
บกพร่องทางสติปัญญา เป็น 4 ระดับ
1.บกพร่องทางสติปัญญาเลก็น้อย(mildintellectualdisability)
ระดับIQ50-69ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว พบร้อยละ 80
ด้านความคิด
เด็กจะมีความยากลําบากในการเรียนรู้ทักษะเกี่ยวกับการอ่าน การเขียน การคิดคํานวณและความบกพร่องของความคิดเชิงนามธรรม
ด้านสังคม เด็กจะไม่มีวุฒิภาวะ มีปัญหาในการปฏิสัมพันธ์ด้านทางสังคมกับบุคลอื่น เนื่องจากความยากลําบากในการรับรู้ระเบียบทางสังคม การสื่อสาร การสนทนา
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองได้เหมาะสมตามวัย อาจต้องการความช่วยหลือในการ ทํากิจกรรมที่มีความซับซ้อน
2 บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง (moderate intellectual disability) ระดับ IQ 35-49 ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง พบร้อยละ 12
ด้านความคิด ทักษะการสื่อสารการพูด การอ่าน การเขียน ทักษะความคิดการคํานวณ การเข้าใจเวลา และการเงินมีข้อจํากัด
ด้านสังคมจะรับรู้ระเบยีบทางสงัคมได้ไมถู่กต้องมีข้อจํากัดในการตัดสินใจทางสังคมและ
การสื่อสารซึ่งมีผลต่อการสร้างสมัพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองในการรับประทานอาหาร แต่งกาย ขับถ่ายสุขอนามัย
และการทํางานบ้านโดยต้องใช้เวลาในการฝึกมากกว่าเด็กที่มีพัฒนาการปกต
3 บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง (severe intellectual disability)
ระดับ IQ 20-34 ต้องการความช่วยเหลือมาก พบร้อยละ 3-4
ด้านความคิด มีข้อจํากัด ด้านการคิด การใช้ภาษา ต้องช่วยเหลือในการแก้ปัญหา
ตลอดชีวิต
ด้านสังคม มีข้อจํากัดในการพูด อาจพูดได้เป็นคํา ๆ หรือวลี จะมีสัมพันธภาพกับสมาชิก ในครอบครัวและผู้คุ้นเคย
ด้านกาปฏิบัติ ต้องการความช่วยเหลือทุกอย่างในการทํากิจวัตรประจําวัน เช่น การ รับประทานอาหาร แต่งตัว อาบน้ํา ขับถ่าย การทํางาน การเล่น ต้องใช้เวลาอย่างต่อเนื่องในการฝึกและ ช่วยเหลือบางรายพบพฤติกรรมที่เป็นปัญหาร่วมด้วย
4 บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก (profound intellectual disability) ระดับ IQ < 20 ต้องการความช่วยหลือตลอดวลาพบร้อยละ1:2
ด้านความคิด และด้านสังคม มีข้อจํากัดในการเข้าใจสัญลักษณ์ของการสื่อสารด้วยคําพูด หรือท่าทาง อาจเข้าใจคําหรือท่าทางง่าย ๆ
แสดงความต้องการหรืออารมณ์โดยไม่ใช้ภาษาหรืสัญลักษณ์ มี สัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกครอบครัวและผู้ดูแลท่ีคุ้นเคย มีควาบกพร่องทางร่างกาย และการรับความรู้สึกทําให้ ไม่สามารถมีกิจกรรมทางสังคมร่วมกับคนอื่นได
ด้านการปฏิบัติ ต้องพึ่พาผู้อื่นในทุกด้านของการทํากิจวัตรประจําวัน การดูแลสุขภาพ ความปลอดภัย ต้องอาศัยการฝึกอย่างมากในการช่วยเหลือตนเอง
สาเหตุ การบําบัดรักษาเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
2.1 สาเหตุของเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1)ปัจจัยทางพันธุกรรมเกิดจากความผิดปกติของยนีที่มีการถ่ายทอดทางพนัธุกรรมทําให้เกดิ ความผิดพลาดของการรวมตัวของยีน (genes combine)
ดาวน์ซินโดรม (down syndrome) มีความผิดปกติของโครโมโชมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง
กลุ่มอาการฟลาจิลเอกซ์ (flaggy X syndrome) มีความผิดปกติของโครโมโชม X ขาด
หายไป
เฟนิลคิโตนยูเรีย(phenylketonuria)เป็นโรคที่ร่างกายไม่สามารถเปลี่ยนสารอาหาร เฟนิลอลานีน (phenylalanine) ให้เป็นไทโรซีน (tyrosine)
2) ปัจจัยในระยะตงั้ ครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์ จากการศึกษาพบว่า ในระหว่างการตั้งครรภ์ถ้ามารดามีการใช้
แอลกอฮอล์ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ อาจส่ผลต่อพัฒนาการของสมองทารกในครรภไ์ ด้
ระยะคลอด พบว่า การคลอดก่อนกําหนด เด็กทารกจะมีน้ําหนักตัวแรกคลอดต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน กระบวนการคลอดนานผิดปกติ
ระยะหลังคลอดพบว่าสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโรคที่เกิดในวัยเด็กเช่น โรคไอกรน โรคอีสุกอีใส โรคหัด อาจนําไปสภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ(meningitis)และสมองอักเสบ(encephalitis)
3) ปัจจัยทางจิตสังคม
เด็กท่ีเติบโตมาท่ามกลางความยากจน ครอบครัวแตกแยกและผู้ เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิต เช่น ซึมเศร้า หรือติดสารเสพติด
ส่งผลให้ด็กไม่ได้รับการเล้ียงดูที่เหมาะสม ทําให้ เด็กในกลุ่มนี้มักได้รับการดูแลด้านสุขภาพไม่ดีพอมีความเสี่ยงสูงที่จะขาดสารอาหาร มีโอกาสเจ็บปวยและ สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมท่ีเป็นอันตราย
2.2 การบําบัดรักษาเด็กท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การรกัษาโรคทางกายที่เป็นสาเหตุและความผิดปกติทอี่าจพบร่วมด้วยเช่นอาการชัก หัวใจพิการแต่กําเนิดหรือภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนที่พบในกลุ่มอาการดาวน
กายภาพบําบัด เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เพื่อแก้ไขการเดินการ เคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ช่วยลดการยึดติดของข้อต่อ ปรับและควบคุมความตึงตัวกล้ามเนื้อให้ใกล้เคียงภาวะปกติ มากที่สุดปอ้งกันการผิดรูปของข้อต่อต่างๆ
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะท่ีจําเป็นในการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุก ๆ ด้าน พบว่า เด็กที่ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่เล็ก ๆ
กิจกรรมบําบัด เป็นการบําบัดที่ช่วยแก้ไขปัญหาที่เป็นองค์ประกอบสําคัญในดําเนินชีวิต
อรรถบําบัดเป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการสื่อสารโดยฝึกเด็กให้ใช้กล้ามเนื้อในการพูด การเปล่งเสียง และการออกสียงท่ีถูกต้อง การฝึกพูดต้องกระทําในเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษเฉพาะเด็กที่มีภาวะบกพร่องทาง
สติปัญญา
การพื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ เป็นการฝึกอาชีพให้กับเด็กที่มีภาวะบกพร่อง ทางสติปัญญาซึ่งจะต้องเป็นงานที่ไม่ซับซ้อน
การให้คําแนะนําครอบครัว เน้นการให้ข้อมูลในเรื่อง สาเหตุ แนวทางการรักษา และการ พยากรณ์โรค รวมถึงข้อมูลหน่วยงานที่สามารถให้คําปรึกษาและความช่วยหลือในด้านต่าง ๆ
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1) การประเมินสภาพ (assessment)
การซักประวัติ เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการสําคัญ
การประเมินด้านร่างกาย (physical assessment)
• การตรวจร่างกาย
• ผลการตรวจอื่นๆ เช่น ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• การซักถามพ่อ แม่ หรือผู้ใกล้ชิด
• สังเกตจากพฤติกรรมการเลน่ของเด็ก
• แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (พัฒนาการเด็กปฐมวัย)
• คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ
(Thai Deployment Skills Inventory: TDSI)
• สัมพันธภาพในครอบครัว
• ลักษณะนิสัยและบทบาทหน้า
• รูปแบบการติดต่อสื่อสารของบุคคลในครอบครัว
• รูปแบบการเลี้ยงดู
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
เป็นขั้นตอนการนําความต้องการหรือ ปัญหาทางสุขภพของเด็กท่ีมีความบกพร่องทางสติปญั ญามาวิเคราะห์ข้อมูลข้อเท็จจริงและสรุปเป็นข้อวินิจฉัย ทางการพยาบาลที่ครอบคลุม
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
(planning and implementation)
เป้าหมายเพื่อให้เด็กท่ีมีภาวะบกพรองทางสติปัญญาสามารถดํารงชีวิตในสังคมได้ใกล้เคียงกับเด็กปกติมากที่สุด โดยให้เด็กท่ีมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาได้รับการบําบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพโดยเร็ว ตั้งแต่อายุน้อย ๆ