Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช ความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด
- ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงของความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด
-
-
- สาเหตุ การบำบัดรักษาความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด
-
-
- การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด
1) การประเมินสภาพ (assessment) มีเป้าหมายเช่นเดียวกันการให้การพยาบาลในผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มอื่น คือ มีการรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ประวัติสุขภาพ ประเมินสภาวะทางร่างกายและจิตใจที่เกิดจากการเสพสารเสพติด ฉะนั้นข้อมูลที่ควรรวบรวม ได้แก่
- ชนิดของสารเสพติดที่ผู้ป่วยเคยใช้ และใช้ก่อนที่จะมาขอรับการรักษาในครั้งนี้
- วิธีที่ผู้ป่วยใช้ในการนำสารเข้าสู่ร่างกาย เช่น การสูบควัน การดม การกิน หรือการฉีดเข้าเส้นเลือด
- ปริมาณสารเสพติดที่ใช้ในแต่ละครั้ง
- ระยะเวลา ความถี่ในการใช้สาร และหลังสุดผู้ป่วยใช้สารเสพติดเมื่อไหร่
- ในสภาพการณ์ใดที่ผู้ป่วยต้องใช้สารเสพติดนั้น ๆ
- ขณะเมื่อใช้สารเสพติดต่าง ๆ ผู้ป่วยเคยมีประสบการณ์อะไรที่เกี่ยวกับอาการต่าง ๆ ทางร่างกาย
-
- ประวัติการเลิกสารเสพติดด้วยตนเองหรือเข้ารับการรักษา
- ข้อมูลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ผลการคัดกรอง/อาการทางจิต ความผิดปกติ/ปัญหาอื่นที่เกิดจากการเสพสารเสพติดด้วยแบบ
ประเมินต่าง ๆ เช่น แบบประเมินภาวะที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารเสพติด เช่น แบบประเมินในการค้นหาปัญหาจากการ
ดื่มสุรา (Alcohol Use Disorder Identification Test :AUDIT) แบบประเมินภาวะขาดสุรา (Clinical Institute
-
- ระดับความรุนแรงของปัญหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการเสพสารเสพติดเช่น ปัญหาความทรุดโทรม
-
-
-
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)ควรครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม และควร มีความสอดคล้องกับระยะของการบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดด้วยระยะเตรียมการก่อนบำบัด (pre-admission)
-
-
-
-
- มีภาวะเสียงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากความรู้สึกและการควบคุมเคลื่อนไหวบกพร่อง
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดการชัก
- การรับรู้บกพร่อง มีหูแว่ว เห็นภาพหลอนแปลภาพผิด รับสัมผัสผิดปกติ (tactile hallucination)
- มีภาวะเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง
- แบบแผนการนอนเปลี่ยนแปลงเนื่องจากระบบประสาทถูกกระตุ้น
- มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร น้ำ และอีเลคโทรไลท์เนื่องจากอาการคลื่นไส้ อาเจียน
-
-
-
- ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับแบบแผนการดำเนินชีวิตเพื่อป้องกันการกลับไปเสพสารเสพติดซ้ำ
-
- มีอารมณ์เศร้า/ศักดิ์ศรีความภาคภูมิใจลดต่ำลง
-
-
-
- มีพฤติกรรมและการแสดงออกไม่เหมาะสม เช่น เรียกร้อง สัมพันธภาพบกพร่อง พึ่งพา
- ใช้กลไกทางจิต กลไกการปรับตัว และการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
4) การประเมินผลทางการพยาบาล (evaluation) จะประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถประเมินได้จากการบอกกล่าวของผู้ป่วยเอง ครอบครัวผู้ป่วย หรือจากการสังเกตจากพยาบาล ข้อบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นว่าการพยาบาลได้ผลทางบวกได้แก่
- จำนวนวันที่ใช้สารเสพติดลดลง 3 วันจากเดิม 5 วันต่อสัปดาห์
- สุขภาพทั่วไปดีขึ้นในระยะ 6 เดือน
- สามารถแหล่งประโยชน์ที่ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถพึ่งพาและขอความช่วยเหลือได้
- สามารถบอกวิธีการที่เหมาะสมในการแก้ไขเมื่อความเครียดได้ เช่น การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การ
-