Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต - Coggle Diagram
บทที่ 2
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤต (crisis) หรือภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (emotional crisis)
2) พัฒนาการวิกฤตหรือวัยวิกฤต (maturation Crisis)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามช่วงวัยต่างๆ
ตามกระบวนการเจริญเติบโต (life cycle change)
การที่เด็กต้องพลัดพรากจากผู้ปกครองไปเข้า
โรงเรียน,การต้องออกจากครอบครัวของบิดามารดาไปสร้างครอบครัวของตนเอง
3) ภาวะวิกฤตที่เกิดจากภัยพิบัติ(disaster crisis)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด อาจ
เกิดจากธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นมาเอง ส่งผลให้เกิดความเสียหาย สูญเสีย ทำลายล้าง
ไฟไหม้บ้าน อุทกภัย แผ่นดินไหว ซึนามิ การเกิดสงคราม
1) สถานการณ์วิกฤต (situational crisis)
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดไม่สามารถ
คาดการณ์ล่วงหน้าได้
การเสียคนรักจากอุบัติเหตุ
การตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ การสอบตก การถูกให้ออกจากงาน
ลักษณะอาการ 4 ระยะ
ระยะที่ 1 : อยู่ในระยะวิกฤต (crisis stage) มีความเครียด (stress) ความวิตกกังวล (anxiety) ใช้วิธีการจัดแก้ไขแล้วไม่ได้ผล
สับสน สมาธิลดลง การตัดสินใจเสีย เจ็บหน้าอก ปากแห้ง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่ออก วิงเวียน คิดว่าตนเองไร้ค่า รู้สึกโกรธ
ระยะที่ 2 :ระยะฉุกเฉิน คงใช้ความพยายามที่จะจัดการแก้ไขเหตุการณ์ที่มาคุกคาม เช่น การลองผิดลองถูก (trial and error
attempts)
การลองผิดลองถูก (trial and error attempts) มีภาวะที่อ่อนไหว
(vulnerable state)
ระยะที่ 3 : บุคคลซึ่งอยู่ในภาวะที่อ่อนไหว (vulnerable state )
บุคคลจะมีความตึงเครียดวิตก
กังวล (final stress and anxiety)
ระยะที่4: เป็นระยะที่บุคคลไม่สามารถรับความตึงเครียดวิตกกังวล (stress and anxiety)
สูญเสียความสามารถในการ
กำหนดตัวปัญหา ประเมิน และแยกแยะปัญหาบนพื้นฐานของความเป็นจริง
สาเหตุการเกิด
1) เหตุการณ์วิกฤต (NegativeEvents)
เหตุการณ์หรือราวที่เป็นปัญหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะ
วิกฤตสำหรับบุคคล ซึ่งเหตุการณ์วิกฤตในบุคคลหนึ่งอาจไม่เป็นปัญหาสำหรับอีกบุคคลหนึ่ง
2) การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต
ทำให้เกิดความสูญเสีย ความปวดร้าว หรือความสิ้นหวัง
3) การแก้ไขปัญหา
แต่หากบุคคลนั้นจัดการ
แก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี ทำให้บุคคลนั้นพัฒนา
ทักษะในการจัดการกับปัญหา
การแก้ปัญหาแบบมุ่งเน้นการแก้ปัญหา (problem focus coping)
การแก้ปัญหาแบบมุ่งเน้นอารมณ์(emotion focus coping)
การพยาบาล
การประเมินสภาพ
ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ที่มาคุกคามหรือปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ระดับความรุนแรงของอาการทางกายที่เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ
กลวิธีหรือกลไกทางจิตที่บุคคลที่มีภาวะวิกฤต
บุคลิกภาพเดิม ระดับความอดทน
แหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณ ปรัชญาของชีวิต
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ระยะสั้น
เพื่อลดความเครียดหรือความวิตกกังวลที่มีต่อภาวะวิกฤติ
เพื่อลดอาการและอาการแสดงทางกายที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆให้กลับสู่ภาวะปกติ
วัตถุประสงค์ระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤติของชีวิต
เพื่อส่งเสริมการแสวงหาและเตรียมความพร้อมแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคม
การวางแผนพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีภาวะวิกฤตได้ระบายเรื่องราวความทุกข์ใจต่าง ๆ โดยใช้คำถาม
ปลายเปิด
ส่งเสริมให้บุคคลที่มีภาวะวิกฤตเข้าใจและยอมรับสถานการณ์ปัญหาวิกฤติของชีวิต
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมของบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ดูแลช่วยเหลือเรื่องทั่ว ๆไป เช่น กิจวัตรประจำวันหรือเรื่องอื่น ๆ
ช่วยเหลือให้กำลังใจ
อยู่เคียงข้างเป็นเพื่อน คอยรับฟัง แสดงความเข้าใจ ยอมรับในตัวเขา