Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช (Part 5) -…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวช (Part 5)
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะเพ้อ
1.ความหมาย ลักษณะ อาการแสดงของภาวะเพ้อ
ภาวะเพ้อ (Delirium) หรือภาวะสับสนเฉียบพลัน เป็นกลุ่มอาการ ( syndrome) ไม่ใช่โรค เกิดจากหลายสาเหตุและถือเป็นภาวะฉุกเฉิน ที่มีลักษณะความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ การรู้สึกตัว(consciousness) เกิดการเปลี่ยนแปลงของการรู้คิดและการรับรู้ (cognitive function) อาการทางจิตที่พบบ่อยคือความผิดปกติของอารมณ์และพฤติกรรม
ลักษณะอาการ
A. มีความบกพร่องของสมาธิความสนใจ ( Attention) และระดับความรู้สึกตัว ( consciousness)
B. การเปลี่ยนแปลงในข้อ A. เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ แบบเฉียบพลัน อาการขึ้นๆลงๆ ในระหว่างวัน
C. ตรวจพบความผิดปกติความคิด การรับรู้ ( cognitive function )
D. อาการต่างๆข้างต้นไม่สามารถอธิบายได้จากโรคอื่นในกลุ่ม Neurocognitive disorder
E. มีหลักฐานจากประวัติการเจ็บป่วย การตรวจร่างกาย
3 การบาบัดรักษาบุคคลที่มีภาวะเพ้อ
การรักษาจาเพาะ
รักษาโรคหรือภาวะผิดปกติที่เป็นสาเหตุ เป็นการรักษาที่ดีที่สุด เมื่อสาเหตุหมดไป อาการจะดีขึ้น ผู้ป่วยจะหายเป็นปกติภายใน 3-7 วัน หยุดการใช้ยาที่ไม่จาเป็นทุกชนิด ยาอาจทาให้ผู้ป่วยมีภาวะเพ้อ
การรักษาโดยใช้ยา ผู้ป่วยที่มีอาการอันตรายต่อสภาวะร่างกาย หรือก่อให้เกิดความทุกข์ให้ผู้ป่วย
2.1 ผู้ป่วย substance withdrawal ใช้ยา first line benzodiazepine
2.2 ผู้ป่วยสูงอายุ หรือป่วยหนัก ใช้ antipsychotic ในระดับต่า เลี่ยง benzodiazepine
2.3 ผู้ป่วยมี dementia ร่วมด้วย ใช้ antipsychotic ในระดับต่า ถ้าไม่ดีขึ้น ต้องหยุดยา เพราะยาอาจทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะยาที่มี cardio vascular side effect
2.4 ผู้ป่วยที่มีอาการแบบ hypoactive ไม่ควรใช้ benzodiazepam ใช้ Haloperidol 0.5-2 mg./ day
3.Alcoholic withdrawal delirium เป็นภาวะที่เกิดจากการดื่มสุราในปริมาณสูงๆ เป็นระยะเวลานาน และดื่มน้อยลงหรือหยุดดื่มทันที อาการจะปรากฏหลังการหยุดดื่ม 48 ชม. หรือมีอาการภายใน 7 วัน ภาวะนี้เป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องการการรักษาด่วน ถ้าไม่ได้รักษาอาจจะเกิดภาวะสารแร่ในร่างกายไม่สมดุล
2 สาเหตุของภาวะเพ้อ
Metabolic imbalance จาก dehydration, hypoxia, hypoglycemia, electrolyte imbalance, hepatic - renal disease เป็นต้น
Substance abuse toxicity & withdrawal syndromes เช่น อาการ delirium tremens พบในผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง ( Alcoholism ) ช่วงขาดสุรา หรือผู้ที่ติดสารเสพติด
การติดเชื้อในร่างกาย เช่น ปอดบวม ไข้ไทฟอยด์ มาลาเรีย การติดเชื้อที่สมอง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะ ภาวะโลหิตเป็นพิษ เป็นต้น
การทาผ่าตัด เส้นเลือดในสมองแตก การอุดตัน หรือเนื้องอกในสมอง
ระบบประสาทสมองผิดปกติ เกิดการชัก ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยกว่าปกติ การบาดเจ็บที่ศีรษะ บาดเจ็บที่สมอง
ภาวะไข้ โดยเฉพาะไข้สูงในผู้สูงอายุ หรือผู้ทุโภชนาการ
การขาดวิตามิน ในผู้ที่ติดสุราเรื้อรัง มักขาดวิตามิน B1 B12
ได้รับสารพิษ ยาฆ่าแมลง พิษจากสารโลหะหนัก ได้แก่ ปรอท ตะกั่ว ก๊าซพิษจากท่อไอเสียรถยนต์
ความผิดปกติของหลอดเลือด ภาวะหัวใจล้มเหลว อวัยวะต่างๆล้มเหลว
สิ่งกระตุ้นทางจิตสังคมที่ทาให้เกิดความเครียดแล้วเกิดอาการทางกาย
สารสื่อประสาทและพยาธิสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับภาวะเพ้อ (Delirium)
Acethylcoline การลดลงของ cholinergic activity ในสมอง
Dopamine การเพิ่มขึ้นของ dopaminergic activity
Norepinephrine ในผู้ป่วย alcohol withdrawal delirium
GABA สารบางชนิด เช่น alcohol, barbiturate และยากลุ่ม benzodiazepine
Serotonin เนื่องจากปฏิกิริยาระหว่าง serotonin-cholinergic receptor
Glutamate เกี่ยวข้องกับภาวะhypoxia
4.กระบวนการพยาบาลบุคคลที่มีภาวะเพ้อ
การประเมินผู้ป่วย
1.1 ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง สับสน ช่วงกลางคืน พลบค่า เช้ามืด
1.2 ความจา สูญเสียความจาระยะสั้น
1.3 การรู้เวลา สถานที่ บุคคล บกพร่อง
1.4 อารมณ์ ขึ้นๆลงๆ ไม่แน่นอน ตื่นเต้นตกใจ ถูกกระตุ้นง่าย
1.5 การรับรู้บกพร่อง มีหูแว่ว เห็นภาพหลอนซึ่งพบได้มาก เห็นภาพลวง แปลเหตุการณ์ผิด ดึงสายน้าเกลือ วิ่งหนี หวาดกลัว
1.6 การควบคุมอารมณ์บกพร่อง การตัดสินใจบกพร่อง มีความวิตกกังวล ตื่นกลัว ซึมเศร้า เฉยเมย บางคนรื่นเริงวุ่นวายมากเกิน
1.7 สติปัญญาบกพร่อง คิดแก้ปัญหาไม่เหมาะสม ตอบคาถามไม่ได้
1.8 อาการทางกายที่เกิดจากระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบต่างๆบกพร่อง เช่น หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก ม่านตาขยาย ความดันโลหิตสูง หายใจลาบาก บวม ตาตัวเหลือง
1.9 ประเมินการใช้ยา และการได้รับสารพิษ สารเสพติด
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.1 เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บเนื่องจากการรับรู้แปรปรวน
2.2 การตัดสินใจและดูแลตัวเองบกพร่องเนื่องจากพร่องทางกระบวนการทางสมองและสติปัญญา
2.3 การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากสมองเสียหน้าที่
2.4 แบบแผนการนอนแปรปรวน
2.5 กระบวนการคิดและการรับรู้บกพร่อง
การปฏิบัติการพยาบาล
3.1 ป้องกันอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
3.2 ผู้ป่วยที่ควบคุมตัวเองไม่ได้ มีแนวโน้มเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
3.3 ทำให้ผู้ป่วยได้พักหรือรายงานแพทย์เพื่อให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
3.5 ลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยโดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ไม่มีคนพลุกพล่าน
3.4 ไม่ควรโต้แย้งเรื่องเสียงหรือภาพหลอนนั้นแต่ต้องใส่ใจในความรู้สึกของผู้ป่วยและให้ความมั่นใจว่าผู้ป่วยจะปลอดภัย
3.7 เมื่อพยาบาลจะเข้าไปพบผู้ป่วยต้องเรียกชื่อผู้ป่วยและแนะนาตัวก่อนเพราะผู้ป่วยสับสน จาไม่ได้ว่าใครเป็นใครเกิดความหวาดระแวง หวาดกลัวได้
3.8 สื่อสารกับผู้ป่วยด้วยคาพูดที่สั้นๆ ชัดเจน เข้าใจง่าย
3.9 อธิบายกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยทราบก่อนลงมือกระทาทุกครั้ง
3.10 บอกวันเวลาสถานที่ให้ผู้ป่วยทราบบ่อยๆ จัดปฏิทินและนาฬิกาตัวโตๆ ไว้ในที่ที่ผู้ป่วยมองเห็นได้ชัดเจน
3.11 ทีมพยาบาลควรเป็นทีมเดิมๆ ผู้ป่วยที่สับสนไม่ควรเปลี่ยนคนดูแลบ่อยเกินความจาเป็น
3.12 บอกความเป็นจริงให้ผู้ป่วยทราบถ้าผู้ป่วยสับสน ความจาบกพร่องหรือมีอาการประสาทหลอน
3.13 ให้ญาติมาเยี่ยมบ่อยๆเพื่อกระตุ้นความทรงจา แต่ควรจากัดจานวนคนในการเข้าเยี่ยมแต่ละครั้งเพราะผู้คนมากมายจะกระตุ้นให้ผู้ป่วยสับสน งุนงงได้
3.14 อธิบายให้ความรู้แก่ญาติ/ผู้ดูแล ให้เข้าใจอาการผิดปกติ และ การบาบัดรักษาพยาบาลของทีม เพื่อให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการบาบัดรักษาพยาบาล
ภาวะสมองเสื่อม
.1 ความหมาย ลักษณะ อาการแสดงของภาวะสมองเสื่อม
เป็นกลุ่มอาการที่มีการเสื่อมถอยของการทางานของสมองด้านความคิด การรับรู้อย่างน้อยหนึ่งด้านโดยมีความสามารถลดลงจากเดิมที่เคยดีมาก่อน
ลักษณะอาการ
A. มีหลักฐานจากประวัติและการตรวจประเมิน พบความบกพร่องของสมองด้านความคิดและการรับรู้อย่างน้อยหนึ่งด้าน
B. อาการดังกล่าวมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตอย่างอิสระด้วยตนเองที่ทาอยู่เป็นประจาทุกวัน ต้องมีผู้ช่วยในการทำกิจกรรมที่ซับซ้อน
C. อาการดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นในขณะที่มีภาวะเพ้อ (Delirium)
D. อาการดังกล่าวไม่สามารถอธิบายด้วยโรคจิตเวชอื่นเช่นโรคจิตเภท โรคซึมเศร้า
อาการของ DEMENTIA
สูญเสียความสามารถทางสติปัญญา (Deterioration of Intellectual function)
กิจกรรมทั่วไปบกพร่อง (Deterioration of habits)
อารมณ์แปรปรวน (Emotional disability)
อาการทางสมองด้านอื่นๆ
4.1 สูญเสียความสามารถด้านทิศทาง ด้านสามมิติ
4.2 การตระหนักรู้ความเจ็บป่วยของตนเอง (insight)
2 สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
สมองเสื่อมแบบ Alzheimer
สมองเสื่อมที่เกิดจากพยาธิสภาพของหลอดเลือด
สมองเสื่อมจากสาเหตุอื่นๆ
โรคเรื้อรัง เบาหวาน ไทรอยด์ โลหิตจาง ติดเชื้อ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ภาวะโพรงสมองคั่งน้า HIV ฯลฯ
ความผิดปกติเส้นประสาทสมอง เนื้องอกในสมอง
ภาวะทุโภชนาการ ขาดวิตามิน B1วิตามิน B6 วิตามิน B12 โฟเลต
โรคต่อมไร้ท่อ ภาวะ hypothyroidism โรคต่อมพาราไทรอยด์ โรคต่อมหมวกไต
ภาวะ Metabolic ผิดปกติ เช่น โซเดียมในเลือดต่า โรคตับ หรือโรคไตรุนแรง
สารเสพติด พิษสุราเรื้อรัง
โรคทางจิตเวช โรคซึมเศร้า ความผิดปกติจากการนอนหลับ
ผลขางเคียงจากยาบางชนิด เช่น benzodiazepine, anticholinergic, muscle relaxant
3 การบาบัดรักษาบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม
การรักษาด้วยยา
donepezil
rivastigmine
galantamine
การรักษาโดยไม่ใช้ยา ไม่มีความเสี่ยงจากผลข้างเคียงของยา
ออกกาลังกาย
ฝึกความคิด ความจำ
เล่นเกมต่างๆ
ดนตรีบาบัด
สัตว์เลี้ยงบาบัด
สุคนธบาบัด
3 การดูแลทั่วไป
3.1 การปฏิบัติกิจวัตรประจาวันของตนองที่เป็นพื้นฐาน ( basic ADL)
3.2 การดูแลสิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย ทั้งด้านความปลอดภัยและความเหมาะสม
3.3 การดูแลฟื้นฟูทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และอาชีพ
3.4 การดูแลในวาระสุดท้ายของชีวิต
3.5 การดูแลด้านกฎหมาย
3.6 การดูแลผู้ดูแล ผู้ดูแลจะมีความเสี่ยงสูงต่อความเครียดและภาวะซึมเศร้า
4 กระบวนการพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม
การประเมินผู้ป่วย
1.1 สอบถามจากญาติเกี่ยวกับ ความจำ ความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ
1.2 ความสามารถในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน การดูแลตนเอง
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.1 กระบวนการคิดและสติปัญญาแปรปรวนเนื่องจากความเสื่อมของเซลสมอง
2.2 การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากสูญเสียความจาและความเข้าใจสิ่งต่างๆ
การปฏิบัติการพยาบาล
3.1 สอนญาติที่จะเป็นผู้ดูแลผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยโรคนี้ไม่จาเป็นต้องอยู่โรงพยาบาล โดยให้ญาติมีความเข้าใจอาการของโรคยอมรับความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
3.2 ผู้ป่วยที่เริ่มรู้ว่าตนเองมีอาการหลงลืมจะรู้สึกสูญเสีย ตกใจ เศร้า พยาบาลหรือผู้ดูแลควรให้ผู้ป่วยได้ระบายและพูดถึงความรู้สึก ให้กาลังใจในการแก้ไข เช่น จดสิ่งที่จะต้องทา การนัดหมาย ความต้องการต่างๆ
3.3 ผู้ป่วยที่หลงลืม ไม่ควรพูดล้อเลียน ตาหนิให้ผู้ป่วยเสียหน้า ควรแนะนาหรือเตือนอย่างสุภาพ
3.4 ดูแลสุขอนามัยด้านร่างกายของผู้ป่วยเพราะผู้ป่วยที่มีปัญหาการสื่อสารจะไม่สามารถบอกความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้
3.5 ดูแลความสะอาด สุขอนามัยส่วนตัว การอาบน้า แปรงฟัน แต่งตัว การขับถ่าย
3.6 ให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและน้าอย่างเพียงพอ
3.7 หลีกเลี่ยงการบังคับสิ่งที่ผู้ป่วยไม่สามารถทาได้ เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง
3.8 ยอมรับต่อพฤติกรรมแปลกๆของผู้ป่วย ไม่โต้เถียง บังคับให้เปลี่ยนพฤติกรรมหรือล้อเลียนให้ได้อาย
3.9 จัดให้มีปฏิทินและนาฬิกาตัวโตๆไว้ในที่ที่ผู้ป่วยสามารถมองเห็นได้โดยง่าย
3.10 ควรสื่อสารกับผู้ป่วยด้วยคาถามปิด ตอบเพียงสั้นๆ ไม่ต้องให้ผู้ป่วยอธิบายมากมายนัก
3.11 การสื่อสารด้วยท่าทางจะช่วยเสริมการสื่อสารด้วยคาพูดได้ดียิ่งขึ้น เช่น การยิ้ม การสัมผัส จับมือ เป็นต้น
3.12 ให้อิสระในการทากิจกรรมต่างๆ โดยให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
3.13 หลีกเลี่ยงการทดสอบความจาหรือความสามารถเพราะจะทาให้ผู้ป่วยวิตกกังวลมากขึ้น
3.14 ลดการรบกวนการนอน
3.15 ระวังการพลัดตกหกล้มหรือหลงทางเมื่อออกจากบ้านไปแล้วกลับไม่ถูก
3.16 ฟื้นฟูความจาโดยเรียกชื่อผู้ป่วย นารูปครอบครัวหรือคนใกล้ชิดมาให้ผู้ป่วยดู
โรคจิตเภท
1 ความหมาย ลักษณะ อาการแสดงของโรคจิตเภท
ความผิดปกติจะเกิดขึ้นหลายอย่างแบบค่อยเป็นค่อยไปได้แก่ ความผิดปกติของความคิด การรับรู้ พฤติกรรม อารมณ์ และการสื่อสาร โดยอาจเริ่มต้นที่สัมพันธภาพบกพร่อง ไม่ค่อยสนใจสิ่งแวดล้อมส่งผลต่อการดาเนินชีวิต ครอบครัวและสังคมเป็นอันมาก
ลักษณะอาการของโรคจิตเภท
A.มีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 อาการในช่วงเวลา 1 เดือน
หลงผิด (delusion)
2.ประสาทหลอน(hallucination)
3.ความผิดปกติของการพูด (disorganized speech)
4.ความผิดปกติของพฤติกรรม(disorganized behavior)
5.อาการด้านลบ (negative symptom)
B. มีปัญหาด้านการเข้าสังคม การงาน สัมพันธภาพ หรือสุขอนามัยของตนเอง
C.มีอาการผิดปกติต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนซึ่งตองมีอาการในข้อ A อย่างน้อย 1 เดือน
D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค Schizoaffective disorder หรือโรคในกลุ่มซึมเศร้าหรือ Bipolar disorder ที่มีอาการทางจิตร่วมด้วย
E. อาการไม่ได้เกิดจากยาหรือสารเสพติดหรือโรคทางกาย
F. หากมีประวัติของโรค Autism spectrum disorder หรือ Communication disorder
ลักษณะอาการของโรคจิตเภท
กลุ่มอาการด้านบวก (Positive symptoms)
กลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms)
โรคจิตเภทมีอาการที่เรียกว่าจิตแตกสลาย ( Split of mind)
Associative disturbance ความคิดไม่ต่อเนื่องกันขาดความเชื่อมโยงของความคิด แสดงออกโดยการพูดจาวกวนฟังไม่รู้เรื่องว่าพูดเรื่องอะไร
Affective disturbance การแสดงอารมณ์ที่ไม่สอดคล้องกับเรื่องที่พูด เช่นพูดเรื่องเศร้ากลับหัวเราะหรืออารมณ์ไม่สมเหตุสมผล
Autistic thinking อยู่ในโลกของตัวเอง คิดหมกมุ่น ไม่อยู่ในโลกของความจริง
Ambivalence ลังเลใจ ตัดสินใจไม่เด็ดขาดคิดกลับไปกลับมา
2.สาเหตุของโรคจิตเภท
ปัจจัยด้านชีวภาพ ( Biological factors)
1.1 พันธุกรรม ( Genetics)
1.2 สารชีวเคมีในสมอง ( Biochemical factors )
1.3 กายภาพของสมองที่ผิดปกติ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial factors)
2.1 ความขัดแย้งภายในจิตใจ
2.2 กระบวนการพัฒนาการ และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
2.3 ความเครียด
2.4 สภาพสังคมและวัฒนธรรม ครอบครัวที่มีเศษฐานะต่า
3 การบำบัดรักษาบุคคลที่มีของโรคจิตเภท
1.การรักษาแบบผู้ป่วยใน
1.1 เป็นอันตรายต่อตนเองและบุคคลอื่นหรือสังคม
1.2 มีอาการข้างเคียงของยาอย่างรุนแรงที่ต้องดูแลใกล้ชิด
1.3 ไม่ร่วมมือในการรักษา ไม่ยอมกินยา
1.4 ไม่สามารถดูแลตัวเองได้
1.5 มีพฤติกรรมวุ่นวายอย่างมาก
1.6 มีอาการของโรคทางกายที่ต้องควบคุมการรักษา
1.7 มีอาการทางจิตรุนแรงมาก
1.8 มีปัญหาในการวินิจฉัยโรค
2.การรักษาด้วยยา
1) ระยะเฉียบพลัน(acute phase) ยาต้านโรคจิต
2) ระยะควบคุมอาการให้คงที่ (stabilization phase)
3) ระยะคงที่ (maintainance phase)
3.การรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT) กรณีที่ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา และมีอาการรุนแรงมาก หรือชนิด catatonic มีภาวะซึมเศร้าหรือเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
การรักษาทางจิตใจและสังคม
เป็นส่วนสาคัญของการรักษาที่ทาควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยา
4.กระบวนการพยาบาลบุคคลที่มีของโรคจิตเภท
1.การประเมินผู้ป่วย (assessment)
1.1 สภาพทั่วไป
1.2 อารมณ์
1.3 การพูดสื่อสาร การตอบคาถาม
1.4 เนื้อหาความคิด หลงผิดเป็นเรื่องที่ไม่เป็นจริง
1.5 การรับรู้ความเป็นจริง อาการประสาทหลอนผู้ป่วยไม่พูดตรงๆ
1.6 การตระหนักต่อความเจ็บป่วยของตนเอง
การวินิจฉัยการพยาบาล
2.1 ความคิดและการรับรู้ผิดปกติเนื่องจากสารเคมีในสมองไม่สมดุล
2.2 มีแนวโน้มเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจากหลงผิดว่ามีคนคอยทาร้าย
2.3 สัมพันธภาพบกพร่องเนื่องจากแยกตัวเองและไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
2.4 บกพร่องในการดูแลกิจวัตรประจาวันเนื่องจากหมกมุ่นอยู่ในโลกส่วนตัว
2.5 อาการเป็นซ้าเนื่องจากปฏิเสธการรักษาและรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง
การปฏิบัติการพยาบาลตามพฤติกรรมปัญหา
3.1 ความคิดผิดปกติ
ผู้ป่วยบอกว่าตนเองเป็นผู้วิเศษ เลี้ยงลูกกรอก สามารถให้คุณให้โทษใครก็ได้
คิดสิ่งที่ไม่เป็นความจริง เช่น เป็นลูกของในหลวง กะเหรี่ยงพม่าจะมายึดเมืองไทย เป็นต้น
พูดจาสับสน วกวน ตอบไม่ตรงคาถาม สื่อสารไม่รู้เรื่อง
3.2 การรับรู้ผิดปกติ (ประสาทหลอน)
มีเสียงในหูบอกว่าตนเป็นคนชั่วและกาลังจะตาย
ผู้ป่วยปฏิเสธอาการประสาทหลอน แต่จากการสังเกตพบว่า
ผู้ป่วยมองสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เหมือนเคลื่อนที่ได้โดยที่ไม่เห็นตัวตนจริง
มองจ้องไปที่ที่แห่งหนึ่งในห้องเป็นเวลานานๆ
ขยี้ตา กระพริบตาบ่อยๆ
เอียงคอไปด้านใดด้านหนึ่งเหมือนได้ยินเสียง
3.3 การสื่อสารบกพร่อง
พูดวกวน หลายเรื่องไม่ปะติดปะต่อกัน ไม่รู้เรื่องว่าพูดอะไร
อธิบายความคิดตนเองไม่ได้ ไม่สามารถบอกความรู้สึกความต้องการของตนเอง
ใช้ภาษาผิดพูดภาษาที่ไม่มีความหมาย สร้างภาษาขึ้นมาเอง
พูดซ้าคาพูดที่ได้ยินจากคนอื่น
3.4 ผู้ป่วยจิตเภทที่มีอาการหวาดระแวง
เคลือบแคลงสงสัยอย่างมาก อาจเป็นกับบุคคลคนเดียวหรือหลายคน
ระมัดระวังตัวมาก แสดงท่าทางป้องกันตนเอง พกอาวุธ
ตื่นตัวตลอดเวลา ไม่ยอมให้ใครเข้าใกล้
ตาหนิ กล่าวโทษผู้อื่น ปฏิเสธความรับผิดชอบ
เข้าใจความเป็นจริงคลาดเคลื่อน ก้าวร้าว โต้เถียง ขัดแย้ง
สัมพันธภาพกับคนอื่นไม่ดี หลงผิดว่ามีอานาจ ยิ่งใหญ่ มีคนไม่หวังดี คนอื่นคอยปองร้าย ปฏิเสธการรักษา ไม่ยอมกินยา เพราะคิดว่าตนเองไม่ได้เป็นอะไร
ปฏิเสธอาหารเพราะคิดว่ามีคนใส่ยาพิษไม่ปลอดภัย
อาจมีแผนการที่จะทาร้ายตนเองหรือผู้อื่น