Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่16ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดีตับและตับอ่อน, ฝีในตับ, มะเร็งตับ,…
บทที่16ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดีตับและตับอ่อน
ระบบย่อยอาหาร(Intestinal)
กลุ่มโรคDiverticularของลำไส้ใหญ่
Diverticular Disease of colonหมายถึง การหยอนตัวของผนังลำไส้ มีลักษณะเป็นกระเปราะ พบด้านซ้ายมากกว่าขา, เพศหญิงมากกว่าชาย
การรักษาระยะ acute Diverticulitis ให้ลำไส้พักและลดการอักเสบ โดยให้ยาปฏิชีวนะหากดีขึ้นให้ดื่มน้ำเปล่าหรือรักษาโดยวิธีผ่าตัดร่วมกับทำทวารเทียม
ภาวะลำไส้อุดตัน
(Gut Obstructions)
อาหารไม่สามารถผ่านระบบทางเดินอาหารได้ ต้องรักษาอย่างเร่งด่วน
การรักษา ใส่สายยางระบายลดการคั่งค้างในลำไส้ผ่าตัดตกแต่ง, ให้สารน้ำ, ให้ยาบรรเทาปวด
สาเหตุ** Mechanical Obstruction อุดตันจากสิ่งภายนอก(90% อุดตันส่วน Ileumของลำไส้เล็ก), Nonmechanical Obstructionเกิดจากระบบกล้ามเนื้อประสาท หรือโรคหลอดเลือดหรือลำไส้อัมพาต
ไส้เลื่อน
(Hernia)
ภาวะที่ลำไส้ได้เคลื่อนที่ออกจากช่องท้องมาสู่ภายนอก ระยะแรกดันกลับได้ด้วยมือระยะต่อมาจะอุดตัน โดยผ่า Herniorrhaphyผ่าตัดไส้เลื่อนและนำใส่กลับช่องท้องแล้วเย็บซ่อม,Hernioplastyใช้แผ่นสังเคราะห์เย็บปิดรู
ระบบทางเดินอาหาร
(Gastrointestinal System,GI System)
ภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ(Peritonitis)
สาเหตุเกิดแผลและทะลุไปในช่องท้อง, การล้างไตหน้าท้องแบคทีเรียเกิดขึ้นเอง
การรักษา ให้สารน้ำทดแทน, บรรเทาอาการปวดและอาเจียนใส่สายยางลดการยืดขยายลำไส้, ให้ออกซิเจน, ให้ยาปฏิชีวนะผ่าตัดโดย ตัดออก,ตัดซ่อมแซม,ผ่าตัดระบาย
เกิดการอักเสบหรือติดเชื้อของเยื่อบุช่องท้อง จนกระทั่งเกิดภาวะอัมพาตของลำไส้
การประเมิน ตรวจร่างกายพบกล้ามเนื้อท้องแข็งเกร็ง, WBCเพิ่ม, x-raysช่องท้องUltrasound, CT Scan, MRI
โรคไสติ่งอักเสบ
(Appendicitis)
การรักษาผ่าตัดเปิดหน้าท้องหรือส่องกล้อง, ก่อนผ่า งดน้ำและอาหาร จัดท่าศีรษะสูงหลังผ่าประเมินภาวะตกเลือด หลังจากนั้นระวังภาวะท้องอืดและแผลติดเชื้อ
การประเมิน ระยะแรกปวดท้องไม่มากบอกตำแหน่งไม่ชัดเจนหรือปวดมากรอบสะดือหรือใต้ลิ้นปี่
การตรวจร่างกาย** กดบริเวณ Mc.Burney, s point แลวปล่อยมือจะเจ็บ
กรดไหลย้อน(Gastroesophageal Reflux Disease,GERD)
อาการ แสบร้อนบริเวณทรวงอก แสบร้อนคล้ายไฟลนที่บริเวณลิ้นปี่หรือกลางทรวงอก
สาเหตุ กลามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารส่วนปลายปิดไม่สนิทความผิดปกติของการบีบตัวของหลอดอาหารหรือความผิดปกติเส้นประสาทและกล้ามเนื้อของกระเพาะอาหาร
การรักษา ใช้ยาในกลุ่ม Proton pump inhibitor
การพยาบาลเลี่ยงอาหารทอด, ไม่ให้หิวหรืออิ่มเกินไป,หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกระตุ้นการหลั่งกรด
การตกเลือดระบบทางเดินอาหาร(Gastrointestinal Bleeding)
อาการ upperอาจมีอาเจียนเปนเลือด,อุจจาระเป็นสีดำเหลวเหนียวlowerอาการไม่รุนแรง ถ่ายเป็นเลือดสีแดงสด
รรักษา ให้เลือดและสารน้ำ, ทำให้เลือดหยุดโดยเร็ว,
การพยาบาล ห้ามเลือดและประเมินอาการ, ใส่สาย NG Tube ดูดล้างกระเพาะ, ให้ยา
แผลในระบบทางเดินอาหาร(Peptic Ulcer)
แผลที่เกิดขึ้นในเยื่อบุทางเดินอาหารเฉพาะส่วนที่สัมผัสกับน้ำย่อยของ กระเพาะอาหาร
ภาวะแทรกซ้อน Hemorrhageภาวะขาดเหล็กเนื่องจากมีเลือดออกทีละน้อย,Perforationอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง,Obstructionการมีลำไส้อุดตัน
การรักษา ผ่าตัด(Billoth1-2,Vagotomy), ให้ยา, รักษาผ่านกล้อง(จี้จุดเลือดออก), รักษาประคับประคอง
การพยาบาล บรรเทาอาการเจ็บปวด, ส่งเสริมภาวะโภชนาการหลีกเลี่ยงกระตุ้นการหลั่งกรด, ป้องกันภาวะแทรกซ้อน, ให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน
มะเร็งหลอดอาหาร
(CA Esophagus)
ปัจจัยเสี่ยง สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ไนโตรซามีน เส้นใยหิน ปิโตรเลียม น้ำหนักเกินกินผักผลไม้น้อย
อาการ กลืนลำบาก ติดคอ อาเจียน ผอม ซีด เสียงแหบ คลำพบก้อนที่คอ
การวินิจฉัย Barium Swallow, esophago scope, CT scan และ bronchoscopy
การรักษา การฉายรังสี, เคมีบำบัด, ผ่าตัดเอาส่วนของหลอดอาหารที่เป็นมะเร็งออกการรักษาแบบประคับประคองใช้ในกรณีผ่าไม่ได้ใส่ท่อผ่านหน้าท้องเข้าไปให้อาหารใช้วัสดุถ่างขยาย
แบ่งเป็น 2 ส่วน
ระบบทางเดินอาหารสวนบน (Upper GI)ตั้งแต่ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหารถึงลำไส้เล็กส่วน Duodenum
ระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง(Lower GI) เริ่มตั้งแต่ลำไส้เล็กส่วน jejunum ลำไส้ใหญ่ถึงทวารหนัก
ลำไส้ตรงและทวารหนักProcto
ลำไส้ใหญ่อักเสบ
(Ulcerative Colitis)
เกิดการอักเสบของบาดแผลที่ส่วน mucosa ของ colon และทวารหนัก มักจะก่อให้เกิดมะเร็งของลำไส้ได้บ่อย
อาการ** ถ่ายเหลว ปวดท้อง เลือดออกทางทวารหนัก น้ำหนักตัวลดมีไข้ อาเจียน ขาดน้ำ ซีด
การรักษา** ลดหรือกำจัดการอักเสบ, ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำให้สารอาหาร High –protein, high –calorie, vitamin หลีกเลี่ยงอาหารถ่ายเหลวเช่นนม, ให้ยา,ผ่าตัดลดความรุนแรงโรค
มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง
(CA colon,CA Rectum)
ทวารใหม่Stoma
ไม่มีกล้ามเนื้อหูรูด กลั้นการขับถ่ายไม่ได้ ต้องใช้ถุงรองขับถ่ายตลอดเวลารักษาความสะอาด หลีกเลี่ยงการกดทับ เคี้ยวอาหารให้ละเอียดดื่มน้ำมากๆ สังเกตการอักเสบของผิวหนัง
อาการ** ระยะแรกไม่มีอาการ ต่อมา ถ่ายเป็นเลือดสด, อุจจาระรูปร่างแคบ,อุจจาระไม่สุด, ปวดท้อง น้ำหนักลด, การรักษา ผ่าตัด, เคมีบำบัด, ให้รังสีรักษา
เคมีบำบัด, ให้รังสีรักษา
ปัจจัยเสี่ยง** โรคอ้วน, อาหารไขมันสูง, สูบบุหรี่, แอลกอฮอล์, ขาดการออกกำลังกาย, กินผักผลไม้น้อย, พันธุกรรม
ตับ ถุงน้ำดีตับอ่อน
ภาวะตับแข็ง
(Cirrhosis)
สาเหตุ** แอลกอฮอล์เป็นสาเหตุที่พบบ่อย, ติดเชื้อ/อักเสบเรื้อรัง, ท่อน้ำดีอุดตัน
อาการ ระยะแรก ปวดท้องบริเวณตำแหน่งของตับ, ระยะหลังเซลล์ตับโตขึ้น มีภาวะท้องมานซีด ตัวและตาเหลือง
ภาวะแทรกซ้อน ท้องมานและบวม, ความดันปอร์ตัลสูงทำให้ตกเลือดในหลอดอาหาร
การดูแลลดภาวะแทรกซ้อนภาวะท้องมานจำกัดปริมาณสารนำเข้าร่างกายใหยาขับปัสสาวะ, นอนพักในท่า Fowler’s position,การดูแลเรื่องอาหารแคลอรีสูง โปรตีนปานกลาง ไขมันต่ำ จำกัดเกลือ เสริมวิตามินและกรดโฟลิค
ฝีในตับ
(Liver Abscess)
สาเหตุ มักจะมาจากติดเชื้อในร่างกายโดยเฉพาะระบบทางเดินอาหาร แล้วลุกลามต่อไปถึงตับ
อาการไข้หนาวสั่น ปวดที่ชายโครงขวา และกดเจ็บ หากฝีขนาดใหญ่จะพบอาหารเหลือง
การรักษา** เจาะระบายเอาหนองออก, ให้ยาฆ่าเชื้อแกรมลบหรือแกรมบวก
การวินิจฉัย ตรวจการทำงานของตับ(LFT), มีน้ำดีในเลือดสูงultrasound, CT, ส่งเพาะเชื้อหนอง
มะเร็งตับ
(CA Liver,Hepatocellular Carcinoma)
สาเหตุ ได้รับสารก่อมะเร็ง ได้แก่ Aflatoxin , Nitrosamine, เป็นโรคตับมาก่อน ตับอักเสบจากเชื้อไวรัสบี
อาการ ปวดท้อง, คลำพบก้อนที่ชายโครงขวาอาจกดเจ็บ, ตาและตัวเหลือง ท้องมาน บวม อาการทางสมอง
การรักษา ผ่าตัดก้อนมะเร็งออกทำคีโม, ฉายรังสี, การรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดหากผ่าไม่ได้จะทำ TOCE
นิ่วในถุงน้ำดี(Gall Stone
มักไม่พบอาการผิดปกติแสดงให้เห็น ตรวจพบโดยบังเอิญ
มีอาการท้องเฟ้อบริเวณเหนือสะดือ เรอ คลื่นไส้ อาเจียน คล้ายอาการของอาหารไม่ย่อย
ปัจจัยเสี่ยง ความอ้วน, ได้ฮอร์โมนเอสโตรเจน, การได้ยาลดไขมันบางชนิด
การรักษาผ่าตัดเปิดหน้าท้อง ตัดถุงน้ำดีที่มีอาการอักเสบหรือแตกทะลุในช่องท้องผ่าตัดโดยส่องกล้องทางช่องท้อง
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Cholecystitis)
สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากนิ่วในถุงน้ำดี, ถุงน้ำดีติดเชื้อแบคทีเรีย, อุบัติเหตุ
อาการปวดทันทีทันใดและปวดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ, ปวดบิด, คลื่นไส้, อาเจียน, ไข้สูง
การวินิจฉัย ตรวจร่างกาย, WBC สูง, การตรวจERCPในรายที่มีดีซ่าน
การรักษาผ่าตัดภายใต้กล้อง(LC)
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Pancreatitis)
อาการ ปวดท้องรุนแรงที่ลิ้นปี่และชายโครง มีไข้ ตาเหลืองจางๆ มักปวดเวลานอนราบ
การรักษา แบบประคับประคอง ให้สารอาหาร ให้ยาแก้ปวด ให้ยาปฏิชีวนะ ให้แคลเซียม
สาเหตุ นิ่วในถุงน้ำดีและท่อน้ำดีอุดตัน, สุรา, ติดเชื้อไวรัส บาดเจ็บที่ช่องท้อง, ท่อตับอ่อนอุดตัน
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
(Chronic Pancreatitis)
กิดภายหลังตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นๆหายๆ ดื่มสุรามากเป็นสาเหตุเสริม
อาการ** ปวดท้องบริเวณยอดอก, ท้องเสียเรื้อรัง, เบาหวาน
ารรักษา** งดแอลกอฮอล์และบุหรี่, insulin ควบคุมน้ำตาลในเลือด, เอนไซม์ตับอ่อนทดแทนส่องกล้อง ERCP, ผ่าตัด