Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน, ปาริชาติ บุญส่ง เลขที่ 68 36/1 61111301069 …
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
ASSESSMENT
การเก็บรวบรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (เก็บด้วยตัวเอง)
ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามที่ต้องกา
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (มีคนเก็บไว้อยู่ก่อนแล้ว)
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคนหรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วน
ข้อมูลที่ใช้ประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ข้อมูลประชากร เช่น อายุ เพศ
ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น อัตราเกิด อัตราตาย
ข้อมูลทั่วไป เช่นประวัติ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหาร
ข้อมูลด้านบริการสุขภาพ เช่น ระบบบริการสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ น้ำ
เครื่องมือ
การวัดและประเมิน
การทดสอบ : ความรู้
การใช้แบบสอบถาม
การสัมภาษณ์/สัมภาณ์เชิงลึก
การสำรวจ : สำมโนประชากร
การสนทนากลุ่ม
การสังเกต : พฤติกรมสุขภาพ
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat
ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ การศึกษา
ข้อมูลด้านสุขภาพ อัตราเกิด อัตราตาย
Inferential Stat
T-test, Chi-Square
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
การนำเสนอข้อมูล
Text : ตัวอักษร
Table : ตัวแปลและข้อมูลต้องไม่มาก
ฺBar chart : ใช้ในการเปรียบเทียบ
Pie chart : ใช้ในการเปรียบเทียบ
Lie Graph : ต้องแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของข้อมูล
Pyramid Diagram : จำแนกประชากรและกลุ่มอายุ
DIAGNOSIS
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ เช่น ตัวชี้วัดการดำเนินงานสุขภาพของกระทรวง
5D : Dead, Disability, Discomfort, Dissatisfacton
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process) ชุมชนชวยกันวิเคราะห์ว่าอะไรคือปัญหา
การเขียนปัญหาสุขภาพชุมชน : ใคร เป็นอะไร ปริมาณเท่าไร
ระบุปัญหาพร้อมเกณฑ์และข้อมูลสนับสนุนใช้ในการจัดลำดับปัญหา
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การให้คะแนนการจัดลำดับความสำคัญ
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
PLANNING
คือการใช้ความรู้ทางวิชาการและวิจารณญาณวินิจฉัยเหตุการณ์ในอนาคตและกำหนดวิธีการโดยถูกต้องและมีเหตุผล
ความสำคัญ
การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์ เพราะได้มีการศึกษาสภาพเดิมในปัจจุบันแล้วกำหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซึ่งได้แก่การตั้งวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย แล้วหาลู่ทางที่จะทำให้สำเร็จ
การวางแผนเป็นศูนย์กลางการประสานงาน
การวางแผนทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปโดยประหยัด มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
การวางแผนเป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหาร
ลักษณะของแผนที่ดี
มีความสมบูรณ์
มีความแม่นตรง
มีความครอบคลุม
มีความชัดเจน
มีความยืดหยุ่น
มีความแม่นตรง
มีความง่ายในการปฏิบัติ
มีความง่ายในการควบคุม
มีความประหยัด
ประเภทของแผน
แผนระดับสูง(แผนมโนมติ/แผนนโยบาย/แผนยุทธศาสตร์หรือแผนกลยุทธ์ )เป็นแผนที่องค์การบริหารระดับสูงกำหนดขึ้น โดยกำหนดเป็นข้อความที่ระบุไว้กว้างๆ
แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน(Plan) คือข้อกำหนดหรือรายละเอียดต่างๆของการดำเนินงานในอนาคต เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนงาน หรือชุดโครงการ(Program) คือกลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
โครงการ(Project) คือกลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน มุ่งตอบสนองเป้าหมายในแผนงานเดียวกัน โดยมีเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ชัดเจน
แบบประเพณีนิยม (Convention method)
การเขียน
ชื่อโครงการ จะต้องบ่งบอกว่าจะทำสิ่งใดบ้าง โครงการที่จัดขึ้นนั้นทำเพื่ออะไร โดยชื่อโครงการทั่วไปนั้นจะต้องแสดงถึงลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ
หลักการและเหตุผล เป็นส่วนที่บอกว่าทำไมต้องการทำโครงการนั้น ทำแล้วได้อะไร ถ้าไม่ทำจะเกิดผลสียอย่างไร ให้สะท้อนความจำเป็นของการจัดทำโครงการ
วัตถุประสงค์ เป็นการบอกให้ทราบว่า การดำเนินงานตามโครงการนั้นมีความต้องการให้อะไรเกิดขึ้น ควรเป็นวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ปฏิบัติได้และวัดและประเมินผลได้
S : Sensible (เป็นไปได้ ) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่มีความเป็นไปได้ในการดำเนินโครงการ
M : Measurable (วัดได้) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีสามารถวัดและประเมินผลได้
A : Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ)หมายถึง ต้องระบุสิ่งที่ต้องการ อย่างเฉพาะเจาะจง
R : Reason (เป็นเหตุเป็นผล)หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลในการปฏิบัติ
T : Time (เวลา) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีขอบเขตเวลาที่แน่นอน
เป้าหมาย เป็นการกำหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
วิธีดำเนินการ หรือกิจกรรม หรือขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อบรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ โดยกำหนดกิจกรรมอย่างชัดเจนตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ ระบุใคร ทำอะไร
ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ คือการระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการนิยมระบุ วัน-เดือน-ปี ที่เริ่มต้นและเสร็จสิ้น
งบประมาณ เป็นประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของโครงการ ซึ่งควรจำแนกรายการค่าใช้จ่ายได้อย่างการระบุยอดงบประมาณ ควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วย ระบุราบละเอียดค่าใช้จ่ายจำแนกตามหมวดหมู่
การประเมินผล บอกแนวทางการติดตามประเมินผลควรทำอย่างไร ในระยะเวลาใด และใช้วิธีการอย่างไรจึงจะเหมาะสม โดยระบุวิธีการ และเกณฑ์ที่ใช้ในการวัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นผลประโยชน์และผลตอบแทนที่คาดว่าจะ ได้รับจากการดำเนินงานโดยตรงและโดยอ้อมที่อยู่นอกความคาดหมายไปจากวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นการระบุตัวบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเสนอและดำเนินโครงการ
แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framwork method)
IMPLEMENTATION
ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้วางแผนไว้ในโครงงาน
EVALUATION
ประเด็นสำคัญที่มักที่มักนำมาใช้ในการประเมิน
ประสิทธิผล (Effectiveness) เป็นการประเมินผลลัพธ์หรือผลงานในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายมากน้อยเพียงใด
ประสิทธิภาพ(Efficiency) เป็นการประเมินว่าผลงานที่ได้ออกมาสิ้นเปลืองงบประมาณหรือทรัพยากรเพียงใด มักใช้การวิเคราะห์ต้นทุนและประโยชน์
ความพอเพียง(Sufficiency) เป็นการประเมินว่าโครงการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ในระดับใด พอเพียงที่จะแก้ปัญหาที่มีอยู่หรือไม่
ความเหมาะสม(Appropriateness) ประเมินเพื่อดูว่าการจัดบริการสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการหรือไม่
ความเสมอภาค (Equality) ประเมินเพื่อดูว่าใครบ้างมีโอกาส หรือไม่มีโอกาสได้รับผลลัพธ์โครงการ ดูความเท่าเทียมที่ผู้รับพึงได้รับบริการสาธารณะ ตามสิทธิอันพึงมีพึงได้
ปาริชาติ บุญส่ง เลขที่ 68 36/1 61111301069