Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน, กมลลักษณ์ แต้มสี รุ่น 36/1 เลขที่ 9 - Coggle…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
เครื่องมือ
การสังเกต
การสำรวจ
แบบสอบถาม
วัดและประเมิน
ทดสอบ
สัมภาษณ์
สนทนากลุ่ม
กลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่าง
การนำเสนอข้อมูล
Text
Table
Bar chart
Pie chart
Line graph
Pyramid Diagram
โครงการและการเขียนโครงการ
"แผนหรือเค้าโครงการตามที่กะกำหนดไว้"
1.ชื่อโครงการ ชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
2.หลักการและเหตุผล เป็นส่วนที่บอกว่าทำไม
ต้องการทำโครงการนั้น ทำแล้วได้อะไร
3.วัตถุประสงค์
S : Sensible (เป็นไปได้ )
M : Measurable (วัดได้)
A : Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ)
R : Reason (เป็นเหตุเป็นผล)
T : Time (เวลา)
4.เป้าหมาย ขยายวัตถุประสงค์ให้วัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและ
คุณภาพ
5.วิธีดำเนินการ กำหนดกิจกรรมอย่างชัดเจน
6.ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ วัน-เดือน-ปี ที่เริ่มต้นและเสร็จสิ้น
7.งบประมาณ
8.การประเมินผลระบุวิธีประเมินผล เช่น pre test และ post test
9.ประโยขน์ที่คาดว่าจะได้รับอาจเกิดหรือไม่เกิดก็ได้
การประเมินผลโครงการ
1.ประสิทธิผล (Effectiveness) ผลลัพธ์ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพตรงตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด
2.ประสิทธิภาพ(Efficiency)วิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผล
3.ความพอเพียง(Sufficiency)โครงการตอบสนองผู้รับบริการมากน้อยเพียงใด
4.ความเหมาะสม(Appropriateness)เหมาะสมกันสถานที่ เวลาหรือไม่
5.ความเสมอภาค(Equality)
การวินิจฉัยชุมชน
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม
วิธีการเขียนปัญหาสุขภาพชุมชน เช่นครัวเรือน / มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย/ร้อยละ 30
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล
โยงใยสาเหตุของปัญหา
สาเหตุทางตรง สาเหตุทางอ้อม
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
Assessment
Diagnosis
Planning
Implementation
Evaluation
กมลลักษณ์ แต้มสี รุ่น 36/1 เลขที่ 9