Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.5การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกังวล (ต่อ) 5.6…
บทที่
5.5การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกังวล (ต่อ)
5.6 การพยาบาลบุคคลที่มีโรคย้ำคิดย้ำทำ
❖ชนิดของโรคในกลุ่มของโรควิตกกังวล❖
Generalized Anxiety Disorders (GAD) โรควิตกกังวลทั่วไป
ความหมาย
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลมากผิดปกติต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิต ได้แก่ การกลัวเกิดเหตุการณ์ร้าย ๆกับบุคคลที่ใกล้ชิด
อาการ Generalized Anxiety Disorder ตาม DSM 5
ความวิตกกังวลมากผิดปกติจะเกิดขึ้นบ่อย ๆ อย่างน้อย 6เดือนขึ้นไป จะเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือกิจกรรมต่าง ๆ
ผู้ป่วยพบว่า ยากที่จะควบคุมความกังวล
ความกังวลจะเกี่ยวข้องกับอาการอย่างน้อย 3อาการจากทั้งหมด 6 อาการและอย่างน้อยอาการที่เกิดขึ้นได้เกิดมาแล้วไม่น้อยกว่า 6เดือน
3.1 กระสับกระส่าย
3.2อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
3.3 มีปัญหาด้านสมาธิ หรือใจลอย
3.4 หงุดหงิดง่าย
3.5 ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตึงเครียดตามกล้ามเนื้อ
3.6 มีปัญหาการนอน
ความวิตกกังวล หรืออาการทางกายเป็นสาเหตุให้มีอาการทางคลินิก
การรักษา
จิตบำบัด เช่น วิธี Cognitive behavior therapy (CBT) โดยแก้ไขให้ผู้ป่วยกลับมามองโลกอย่างเหมาะสม ร่วมกับการใช้วิธี Relaxation technique
การรักษาด้วยยา Benzodiazepineเช่น Diazepam ช่วยลดอาการวิตกกังวล และอาการทางกายได้ดี ยากลุ่ม SSRI เช่น Sertraline, Paroxetine Propanolol
Panic disorder
อาการ Panic attack ตาม DSM 5
เป็น ความรู้สึกกลัว หรือไม่สบายใจอย่างรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็วภายในไม่กี่นาทีและถึงระดับสูงสุดในระยะเวลา 10นาที จะต้องมีอาการแสดงเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อาการ
1.1 ใจสั่น หัวใจเต้นแรง หรืออัตราเต้นของหัวใจเร็ว
1.2 เหงื่อออกมาก
1.3 สั่นทั้งตัว
1.4 หายใจเร็วถี่
1.5 รู้สึกอยากอาเจียน
1.6 เจ็บแน่นหน้าอก
1.7 คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง
1.8 รู้สึกวิงเวียน สมองตื้อ โคลงเคลง หรือจะเป็นลม1.9 ร้อน ๆ หนาว ๆ ตามตัว
1.10 รู้สึกตัวชา หรือรู้สึกซู่ซ่ารู้สึกเหมือนไม่อยู่กับความจริง (Derealization)
1.11 กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือเหมือนจะเป็นบ้า
1.12 กลัวตาย
อาการที่เกิดอย่างน้อยครั้งหนึ่ง จะต้องมีอาการอยู่เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป โดยเกิดอาการใดอาการหนึ่ง หรือทั้ง 2 อาการ
2.1 กังวลตลอดเวลาว่าจะเกิดมีอาการขึ้นอีก
2.2 การแสดงพฤติกรรมการปรับตัวที่ไม่มีประสิทธิภาพจะเกี่ยวข้องกับการเกิดอาการ ได้แก่การแสดงพฤติกรรมในการหลีกเลี่ยงการเกิดความกลัวอย่างรุนแรง (Panic attack)
อาการที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลต่อร่างกายจากการใช้สารต่าง ๆ
อาการ panic attack ไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ
การรักษา
จิตบำบัด
การรักษาด้วยยา ได้แก่ ยากลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine และ Benzodiazepine เช่น Alprazolam
Phobia disorder
ความหมาย
เป็นความกลัวอย่างรุนแรง ไม่มีเหตุผล กลัวเกินเหตุ และเกิดขึ้นบ่อย โดยไม่สามารถระงับหรือหักห้ามความกลัวนั้นได้
ชนิดของ Phobia disorders แบ่งตาม DSM 5
โรคกลัวอยู่ในที่โล่ง หรือที่ชุมชน (Agoraphobia)
อาการเด่น คือ กลัว วิตกกังวล ตั้งแต่ 2 สถานการณ์จาก 5 สถานการณ์
บุคคลกลัวหรือหลีกเลี่ยงสถานการณ์เหล่านี้เพราะมีความคิดว่าเป็นการยากที่จะหนี
สถานการณ์กลัวอยู่ในที่โล่ง หรือที่ชุมชน จะกระตุ้นทำให้เกิดความกลัว หรือความวิตกกังวล
1 more item...
1.1 การใช้ขนส่งมวลชน
1.2 ที่โล่งกว้าง
1.3 สถานที่ที่มีผู้คนมาก
1.4 การเข้าคิวในแถว หรือสถานที่ที่มีคนหนาแน่น
1.5 การอยู่นอกบ้านคนเดียวตามลำพัง
โรคกลัวสังคม (Social phobia หรือ Social anxiety disorder)
กลัวอย่างชัดเจน หรือวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ในสังคม ซึ่งผู้ป่วยจะรู้สึกกำลังถูกเฝ้ามองในการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ข้อสังเกต ในเด็ก ความกลัว หรือวิตกกังวล อาจจะเกิดขึ้นในขอบเขตของเพื่อน ไม่ใช่อยู่ในระหว่างการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่
บุคคลกลัวว่าตนเองจะแสดงวิธี หรือแสดงอาการวิตกกังวล ซึ่งจะถูกประเมินภาพลบ
สถานการณ์ทางสังคมจะเป็นสาเหตุให้เกิดความกลัว และความวิตกกังวล
2 more items...
โรคกลัวสิ่งเฉพาะเจาะจง (Specific phobia)
กลัวอย่างชัดเจน หรือวิตกกังวลเกี่ยวกับวัตถุหรือสถานการณ์ที่เฉพาะเจาะจง
วัตถุหรือสถานการณ์ที่กลัว จะกระตุ้นให้เกิดความกลัว หรือความวิตกกังวล เกือบทุกครั้ง
วัตถุหรือสถานการณ์ที่กลัวเป็นการหลีกเลี่ยงที่รวดเร็ว หรือต้องอดทนกับความกลัว
1 more item...
ข้อสังเกต ในเด็ก ความกลวัหรือวิตกกงัวล อาจแสดงออกโดย การรอ้งไห้การออกฤทธิ์(Tantrum) ตัวแข็งทื่อ การที่ต้องอยู่ใกล้ผู้อื่น
การรักษา
Specific phobia ใช้วิธีExposure therapy มากที่สุด
Social phobia ใช้วิธีการทำจิตบำบัดร่วมกับการใช้ยา ได้แก่ ยากลุ่ม SSRI เช่น Paroxetine ยา Benzodiazepine เช่น Clonazepam และยา Beta-adrenergic antagonist เช่น Propranolol
Obsessive Compulsive Disorders (OCD)
ความหมาย
เป็นการคิดหรือทำเรื่องหนึ่งเรื่องใดซ้ำๆ โดยไม่สามารถหยุดยั้งได้ ทั้งๆที่รู้ว่าสิ่งที่คิดหรือทำนั้นไม่สมเหตุสมผล ผู้ป่วยจะแสดงอาการย้ำคิดหรือ ย้ำทำ โดยไม่มีเหตุผล ไม่สามารถขัดขืนได้
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค Obsessive-Compulsive Disorders ตาม DSM 5
แสดงอาการย้ำคิด หรืออาการย้ำทำหรือแสดงทั้งอาการย้ำคิดย้ำทำ
ย้ำคิด (Obsessions)
1.1 มีความหมกมุ่น โดยเกิดขึ้นซ้ำๆ
1.2 ผู้ป่วยพยายามที่จะเพิกเฉย หรือหยุดยั้งความคิด
ย้ำทำ (Compulsive)
1.1 พฤติกรรมที่ทำซ้ำๆ
1.2 พฤติกรรม หรือการแสดงออกด้านจิตใจเพื่อที่จะป้องกัน หรือลดความกังวลหรือความทุกข์ทรมานใจมาก หรือป้องกันเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่น่ากลัว
การย้ำคิด หรือการย้ำทำ เป็นการกระทำที่ใช้เวลามาก
อาการย้ำคิด-ย้ำทำจะไม่มีอาการทางร่างกายที่เป็นผลจากการได้รับสาร
การรักษา
พฤติกรรมบำบัด จะใช้หลัก Exposure และ Response prevention
การรักษาด้วยยา ยากลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine