Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน - Coggle Diagram
บทที่ 6
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
2.1 สาเหตุของของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
1) พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior) - พฤติกรรมรุนแรงที่มีสาเหตุจากโรคทางจิต (functional causes) เช่น โรคจิตเภทชนิด หวาดระแวง โรคไบโพล่าร์ที่มีอาการแมเนียจนควบคุมตนเองไม่ได้ โรคจิตเนื่องจากภาวะเครียด ( brief reactive psychosis) ที่มีอาการประสาทหลอนหูแว่วสั่งให้ฆ่า
2) พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior) มีสาเหตุหรือปัจจัยในการเกิดพฤติกรรม ได้แก่ - โรคทางจิตเนื่องจากการปรับตัว (adjustment disorder) เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาชีวิตเช่น ปัญหาเรื่องความรักและชีวิตสมรส มีปัญหาโรคเรื้อรัง การงาน เศรษฐกิจ
3) ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium) มีสาเหตุหรือปัจจัยในการเกิดภาวะสับสนเพ้อคลั่ง ได้แก่
central nervous system disorder ประสบอุบัติเหตุกระทบกระเทือนสมอง ชัก ภาวะเลือต
ไปเลี้ยงสมองน้อยผิดปกติ เช่น ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ภาวะช็อก หัวใจวาย ระบหายใจล้มเหลว ภาวะติดเชื้อ
เนื้อสมองมีการอักเสบ และเยื้อหุ้มสมองอักเสบ
metabolic disorder เช่น โรคตับวาย ไตวาย ขาดวิตามีนบี การเสียสมดุลของเกลือแร่หรือ
สมดุลกรด-ด่าง และภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
endocrinopathy เช่น ภาวะฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ต่ำหรือสูงกว่าปกติ
ภาวะฮอร์โมนของต่อมใต้สมองต่ำกว่าปกติ
systemic lines อาการพิษจากการดื่มสุราและสารเสพติด และอาการขาดสุราและสารเสพติด
การติดเชื้อ ระบบควบคุมอุณหภูมิผิดปกติ
ยาที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการสับสนเพ้อคลั่ง เช่น antihistamine, atropine, thiazine,
clozapine, tricyclic antidepressant, barbiturates, benzodiazepine
4) กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome) มีสาเหตุหรือปัจจัยในการเกิดกลุ่มอาการหายใจถี่ แม้ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดแต่ผู้ป่วยมักจะเริ่ม ตันมีการหายใจที่ผิดปกติ
5) อาการแพนิค (panic attack disorders) มีสาเหตุหรือปัจจัยในการเกิดอาการแพนิค ได้แก
พันธุกรรม พบว่า ญาติสนิทของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าคนทั่วไป
ปัจจัยทางจิตใจ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ร้อยละ 80 มีเหตุการณ์สำคัญในชีวิต เช่น การสูญเสีย
การพรากจากบุคคลอันเป็นที่รักหรือการมีภาระรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ก่อนที่จะมีอาการนี้ครั้งแรก
การมีจุดอ่อนทางชีวภาพแฝงอยู่ จากการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า การรับประทานยาบางชนิด
เช่น ยาคลายกังวล (alprazolam) และยารักษาอาการซึมเศร้า (imipramine)สามารถลดความรุนแรงของอาการ
แพนิคได
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
1.1 ความหมายของภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
จิตเวชฉุกเฉิน (emergency psychiatry)เป็นภาวะที่บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านความคิด อารมณ์
ความสัมพันธ์ทางสังคม หรือ พฤติกรรมอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง
1.2 ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
1) พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior)ลงมือกระทำการทำร้าย ทำลาย ทั้งร่างกาย จิตใจ ตนเองผู้อืน
และสิ่งของ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บุคคลหรือสิ่งของที่ถูกกระทำได้รับความเจ็บปวด
ลักษณะทั่วไป: มีท่าทางตึงเครียด หน้านิ่งคิ้วขมวด ตาจ้องขมึงไปรอบ ๆมีการคลื่อนไหวเดินไปมาตลอดเหมือนมีความระวนกระวาย ขู่ว่าจะฆ่าหรือ
ทำร้ายผู้อื่น
อารมณ์: แสดงความโกรธอย่างรุนแรงเช่น ใช้คำพูดรุนแรง เสียงดัง
หน้าแดง ฉุนเฉียว
การรู้สติ (level of consciousness): อาจมีภาวะสับสนมีการรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล ไม่
ถูกต้อง (disorientation) มีความคิดทำร้าย ฆ่า หรือแก้แค้นผู้อื่น
2) พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior) มีหลายรูปแบบ ตั้งแต่การอยากฆ่าตัวตายที่วางแผน ล่วงหน้าเป็นเดือนเป็นปี หรือเป็นการฆ่าตัวตายหรือการทำร้ายตนเองที่เกิดจากอารมณ์ชั่ววูบ หรือเป็นการกระทำที่ เป็นผลมาจากอาการโรคจิต (psychosis) เช่น ประสาทหลอน
suicidal intention ความต้องการที่จะฆ่าตัวตาย
suicide committed suicide การฆ่าตัวตายสำเร็จ
suicidal ideation ความคิดอยากฆ่าตัวตาย ซึ่งระดับความรุนแรงจะแตกต่างกันไปตาม
ความรุนแรงของ suicidal intention
suicidal attempt การพยายามฆ่าตัวตาย
self-injurious or self-harm behavior พฤติกรรมที่ตั้งใจทำร้ายตนเองให้บาดเจ็บ
เจ็บปวดหรือส่งผลทำลายร่างกายโดยไม่มี suicidal intention
ลักษณะทั่วไป: สีหน้าเศร้าหมอง ร้องไห้ไม่สบตา ตามองพื้น คอตก ไหล่ห่อ ไม่ค่อย
สนใจดูแลสุขอานามัยตนเอง คิดช้า พูดช้า
ลักษณะอารมณ์:คนที่คิดฆ่าตัวตายมีหลายอารมณ์ อาจเศร้า โกรธ คับแค้นใจ แต่
ส่วนมากจะตกอยู่ในภาวะเศร้ารู้สึกทุกข์ทรมานใจ หดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อชีวิต
ความคิด: อาจโทษตนเองคิดว่าตนเองเป็นคนไม่ดีไม่มีคุณค่า เป็นภาระกับคนอื่น การมี
ชีวิตอยู่ต่อไปไร้ความหมาย ไม่มีใครต้องการ
การรับรู้: ผู้มีอาการทางจิตอาจมีอาการประสาทหลอนสั่งให้ทำร้ายตนเอง (command
hallucinations for self-harm)
พฤติกรรม: คนที่คิดฆ่าตัวตายอาจจะมีการพยายามทำร้ายตนเองหรือมีพฤติกรรมเสี่ยงที่
จะทำร้ายตนเองก่อนมาโรงพยาบาล การแสดงเจตนาว่าจะฆ่าตัวตายด้วยคำพูด โทรศัพท์บอกคนใกล้ชิด ทิ้งร่องรอยขอความช่วยเหลือไว้ ซึ่งหากถ้าคนใกล้ชิดมีความไวพอและให้การช่วยเหลือที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันพฤติกรรมการฆ่าตัวตายได้
3) ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium) เป็นกลุ่มอาการทางสมองเฉียบพลัน (acute brain syndrome) ผู้ป่วยจะเสียการรู้คิด (cognition) ทั้งหมดและมีอาการทาง neuropsychiatric syndrome ต่างๆ ในช่วงเวลาสั้นๆ ภายใน 2-3 ชั่วโมง หรือ 2-3 วันสถานที่ บุคคล (disorientation) กระวนกระวาย มีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว (fluctuation of consciousness) มีความผิดปกติของการ หลับนอน เช่น หลับตอนกลางวันและตื่นหรือทำพฤติกรมวุ่นวายในเวลากลาคืน ความจำระยะสั้นเสีย การรู้สภาพ ตนเองและตัดสินใจเสีย และจะมีอาการทางจิตรุนแรง มีอาการประสาทหลอน (hallucination)
อายุที่เริ่มมีความผิดปกติทางจิตครั้งแรกมากกว่า 45 ปี
อาการเริ่มต้นเป็นอย่างเฉียบพลัน
มีประวัติโรคทางกายรื้อรัง เช่น เบาหวาน ตับวาย ไตวาย หรืออาการป่วยทางกายนำ เช่น มีไข้
ปวดศีษะ ชีพจรเร็ว ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
-มีประวัติใช้สารเสพติด
-มีประสาทหลอนทางตาหรือทางผิหนังมากกว่าอาการประสาทหลอนทางหู
-มีประวัติอาการทาระบบประสาท หมดสติ ชัก อุบัติเหตุทางสมอง
การสูญเสียความชำนาญในการจัตวางภาพ (constructional apraxia) เช่น การไม่สามารถ
วาดรูปหน้าปัดนาฬิกาได้อย่างถูกต้อง
4) กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome)เกิดอาการชารอบปากมือ เท้า เกร็ง กระสับกระส่าย ทายใจไม่อิ่มนิ้วมือจีบยืดเกร็ง (carpopedal spasm)ชาบริเวณริมฝีปาก นิ้วมือ นิ้วเท้า
5) อาการแพนิค (panic attack disorders) ผู้ป่วยจะมีอาการกลัวอย่างรุนแรง อาการเกิดทันทีและเป็นมากอย่างรวดเร็วมีความกลัวอย่างรุนแรงคิดว่าตนเองเป็นโรคร้ายแรง เช่น โรคหัวใจ และมีอาการทางกายร่วมด้วย
เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก มือสั่น ตัวสั่น หอบ หายใจไม่ออก
-เห็นสุนัขแล้วกลัวเพราะเคยถูกสุนัขกัดมาก่อน
6) อาการพิษจากสารเสพติดและอาการขาดสาร (substance intoxication and withdrawal)
2) แอมเฟตามีน (amphetamine) เป็นสารเสพติดที่มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท (stimulants)
1) สุรา (alcohol) เป็นสารเสพติดที่มีฤทธิ์กดระบบประสาท
3) ฝิ่น (opioid) เป็นสารเสพติดประกอบด้วยฝื่นธรรมชาติ (มอร์ฟีน) กึ่งสังเคราะห์ (เฮโรอีน) และ
สารสังเคราะห์ เช่น โคเดอีน เพธิดีน
2.2 การบำบัดรักษาของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
1) พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior) การบำบัดช่วยเหลือ
การป้องกันการเกิดพฤติกรรมรุนแรง (violence precautions)
-การควบคุมพฤติกรรมรุนแรง (violence control) 1) การแยกหรือจำกัดบริเวณ (seclusion) 2) การผูกมัด (physical restraints) 3) การใช้ยาควบคุมอาการ (medication)
2) พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior) การบำบัดช่วยเหลือ
การรักษาทางกายเป็นอันดับแรก (management of medical surgical consequences of suicide attempt) สำหรับผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตายมาก่อนเข้ารับการรักษา เช่น ถ้ากินยาหรือสารเคมีมาให้การล้าง ท้อง
การป้องกันและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายซ้ำ (suicide precautions) พยาบาลต้องพยายามไม่ให้ ผู้ป่วยฆ่าตัวตายซ้ำขณะรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล
-การประเมินและวางแผนการดูแลต่อเนื่อง การประเมินสาเหตุของการฆ่าตัวตายและประเมิน ความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายซ้ำ
3) ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium) การบำบัดช่วยเหลือ
การบำบัดรักษาด้วยยา ที่นิยมใช้ antipsychotics drug ได้แก่ haloperidol ในการรักษาผู้ป่วย
delirium ที่มีอาการวุ่นวาย และนิยมใช้ benzodiazepine แทน antipsychotic drug ในการรักษาอาการ deliriumจาก alcohol withdrawal
การบำบัดด้านสิ่งแวดล้อม
1) การผูกยึด (restrain) เนื่องจากผู้ป่วย delirium มักมีอาการสับสนวุ่นวายเกิดขึ้นเป็นช่วงๆโดยที่ไม่สามารถทำนายได้ ผู้ป่วยอาจทำร้ายตัวเองและผู้อื่น อาจไต้รับบาตเจ็บจากการตกเตียง ดึงสายน้ำเกลือจึงจำเป็นต้องผูกผู้ป่วยไว้กับเตียง อย่างไรก็ตามถ้าผู้ป่วยอาการตีขึ้นควรหยุดใช้วิธีผูกยึด
2) การส่งเสริมการรับรู้สิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง (orientation) ควรบอกให้ผู้ป่วยทราบวัน เวลาและสถานที่เป็นระยะๆ
3) ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในที่ ที่มีแสงสว่างอย่างเพียงพอ มีเสียงบ้างพอสมควร
4) เมื่อผู้ป่วยหายจากอาการแล้ว ควรอธิบายให้ผู้ปวยเข้าใจถึงพฤติกรรมแปลกๆว่าเกิดขึ้นได้ย่างไร และอาการดังกล่าวสามารถรักษาให้หายได้
5) อธิบายถึงภาวะ delirium ให้สมาชิกในครอบครัวทราบว่าภาวะนี้เป็นอย่างไรเพื่อลดความกังวลของสมาชิกในครอบครัว
4) กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome) การบำบัดช่วยเหลือ
5) อาการแพนิค (panic attack disorders) การบำบัดช่วยเหลือ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วย เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความคิดและความรู้สึก ซัก
ประวัติเพื่อรวบรวมข้อมูลด้านภาวะสุขภาพจิต สาเหตุ ปัจจัยส่งเสริม ตลอดจนการรักษาที่เคยได้รับ
ใช้หลัn therapeutic communication ให้กำลังใจและประคับประคองจิตใจ แสดงความใส่
ใจสัมผัสร่างกายผู้ป่วยตามความเหมาะสม เพื่อทำให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย
แยกผู้ป่วยออกมาจากสถานการณ์ที่ทำให้เกิดอาการ โดยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปอยู่ที่สงบ
ให้ยาตามแผนการรักษา ถ้ามีอาการกังวลมากผู้ป่วยจะได้รับยาคลายความวิตกกังวล หรือยา
พวก antidepressant แต่ถ้ามีอาการหวาดระแวงหรืออาการอื่นของโรคจิต ก็ผู้ป่วยจะได้รับยาต้านอาการทางจิต
ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วย ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้ป่วยและญาติ แก้ไขสาเหตุ
ความตึงเครียด เช่น การฝึกทักษะการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ และการจัดการกับความเครียด ถ้าอาการเป็นๆหายๆ
บ่อยๆควรส่งผู้ป่วยพบจิตแพทย์
6) อาการพิษจากสารเสพติดและอาการขาดสาร (substance intoxication and withdrawal) การ
บำบัดช่วยเหลือ
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
3) การประเมินและบำบัดต่อเนื่อง (continue with evaluation and intervention) เมื่อผู้ป่วย อาการสงบ พ้นภาวะที่จะเป็นอันตรายต่อตนองและผู้อื่น พ้นขีดอันตราย ควบคุมตนเองได้มากขึ้น และให้ความร่วมมือ ในการตรวจรักษา หรือถ้าผู้ป่วยยังไม่ให้ความร่วมมือ อาจประเมินข้อมูลต่าง ๆ
2) ให้การพยาบาลบำบัดดูแลระยะแรก (initial intervention) ตามความรุนแรงของปัญหาที่ประเมิน ได้เพื่อจัดการให้ผู้ป่วยปลอดภัยและอาการสงบลง (stabilize patient) โดยการช่วยเหลือด้านร่างกายให้พันขีด อันตรายก่อนเป็นอันดับแรกในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาทางกายร่วมด้วย
1) การจำแนกผู้ป่วย (triage)ภาวะที่ต้องได้รับการบำบัดดูแลทันทีทันใด (immediate) ภาวะฉุกเฉิน (emergency) ภาวะรีบด่วน (urgent) ภาวะกึ่งรีบด่วน (semi-urgent) และภาวะไม่รีบด่วน (non-urgent) รวมถึงการระบุว่าความ ผิดปกติทางจิตเวชในปัจจุบันนั้นมีสาเหตุจากความผิดปกติทางกาย (organic causes) หรือทางจิต (functional causes) หรือมีสาเหตุจากปัญหาทางจิตสังคม
4) การจำหน่ายหรือส่งต่อผู้ป่วยไปยังหน่วยบำบัดอื่น (discharge or refer patient) เมื่อผู้ป่วยอาการ ดีขึ้นและมีการประเมินซ้ำแล้ว อาจพิจารณาให้ผู้ปวยกลับบ้านหรือส่งต่อไปรักษาที่หน่วยอื่น เช่น ส่งไปรักษาที่แผนก ผู้ป่วยนอกต่อไป