Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5, นางสาวสุนทรีย์ มชิโกวา รหัส 180101134 - Coggle Diagram
บทที่5
-
-
-
Panic disorder :<3:
ความหมาย
- อาการ Panic attack ตาม DSM 5 กล่าวว่า เป็น ความรู้สึกกลัว หรือไม่สบายใจอย่างรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลารวดเร็วภายในไม่กี่นาทีและถึงระดับสูงสุดในระยะเวลา 10นาที จะต้องมีอาการแสดงเกิดขึ้นอย่างน้อย 4 อาการ ดังนี้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- อาการที่เกิดอย่างน้อยครั้งหนึ่ง จะต้องมีอาการอยู่เป็นเวลาตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป โดยเกิดอาการใด
-
-
-
การแสดงพฤติกรรมในการหลีกเลี่ยงการเกิดความกลัวอย่างรุนแรง (Panic attack) เช่น การหลีกเลี่ยงการออกก าลังกาย หรือสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย
- อาการที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผลต่อร่างกายจากการใช้สารต่าง ๆ เช่น การใช้ยาเสพติด ยารักษาโรค หรืออาการของโรค เช่น Hyperthyroidism, Cardiopulmonary disorders
- อาการ panic attack ไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ เช่น social phobia, specific phobia, obsessivecompulsive disorder หรือ posttraumatic stress disorder
-
โรคมักเกิดในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย หรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โดยทั่วไปจะเป็นเรื้อรัง ถ้าผู้ป่วยมีอาการบ่อยจะทำให้ผู้ป่วยกังวล และเกิด Phobic avoidance และ Agoraphobia ได้แต่ถ้าผู้ป่วยหายจากอาการ Panic แล้วอาการ Agoraphobia มักหายตามด้วย
-
- จิตบำบัด เช่น Cognitive behavior therapy (CBT) ร่วมกับ Relaxation Technique การฝึกหายใจ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
เพราะสิ่งแวดล้อมอาจกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลสูงขึ้น และระมัดระวังการสัมผัสผู้ป่วย เพราะการสัมผัสอาจเพิ่มความรู้สึก Panic
Phobia disorder : :<3:
ความหมาย
เป็นความกลัวอย่างรุนแรง ไม่มีเหตุผล กลัวเกินเหตุ และเกิดขึ้นบ่อย โดยไม่สามารถระงับหรือหักห้ามความกลัวนั้นได้
-
- โรคกลัวอยู่ในที่โล่ง หรือที่ชุมชน (Agoraphobia)
- อาการเด่น คือ กลัว วิตกกังวล ตั้งแต่ 2 สถานการณ์จาก 5 สถานการณ์ ดังนี้
-
-
-
-
-
- กลัวหรือหลีกเลี่ยงสถานการณ์เหล่านี้ การสูญเสียความสามารถ หรือการทำให้อับอาย เช่น กลัวการหกล้มในผู้สูงอายุ กลัวการควบคุมการถ่ายปัสสาวะไม่ได้
- ต้องเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และอย่างน้อย 6เดือนขึ้นไป
-
ข้อสังเกต ในเด็ก ความกลัว หรือวิตกกังวล อาจจะเกิดขึ้นในขอบเขตของเพื่อน ไม่ใช่อยู่ในระหว่างการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่
- บุคคลกลัวว่าตนเองจะแสดงวิธี หรือแสดงอาการวิตกกังวล ซึ่งจะถูกประเมินภาพลบ เช่น ความน่าอาย ทำให้ปฏิเสธ หรือไม่พอใจจากบุคคลอื่น
- สถานการณ์ทางสังคมจะเป็นสาเหตุให้เกิดความกลัว และความวิตกกังวล
ข้อสังเกต ในเด็ก ความกลัวหรือวิตกกังวลอาจแสดงโดย การร้องไห้การออกฤทธิ์(Tantrum) ตัวแข็งทื่อ การพูดไม่ออกเมื่ออยู่ในสังคม
- ต้องเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และอย่างน้อย 6เดือนขึ้นไป
- เป็นสาเหตุความบกพร่องในการใช้ชีวิตในสังคม การประกอบอาชีพ หรือการปฏิบัติหน้าที่ที่สำคัญอื่นๆ ในชีวิต
- โรคกลัวสิ่งเฉพาะเจาะจง (Specific phobia)
- กลัวแมลงที่มีปีกบิน กลัวความสูง สัตว์ กลัวเข็มฉีดยา กลัวเลือด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การพยาบาล
- ประเมินอาการทางกายจาก panic attack
-