Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา - Coggle Diagram
เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
:tada:บอกและอธิบายความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดงเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะอาการและอาการแสดงเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ความบกพร่องของการปรับตัว (deficits in adaptive function) ส่งผลให้บุคคลมีพัฒนาการ ที่ไม่หมาะสม
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัวดังกล่าวเกิดขึ้นตั้งแต่ในระยะของพัฒนาการ
ความบกพร่องทางสติปัญญา (deficits in intellectual function) เช่น การให้เหตุผล การ แก้ปัญหา การวางแผน
มีพัฒนาการล่าซ้ำ สามารถพบพัฒนาการที่ล่าช้ากว่าเกณฑ์ในทุกด้าน
มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยจะไม่พบอาการหรือพฤติกรรมที่ผิดปกติจนกว่าจะถึงวัยเรียน
มีปัญหาด้านพฤติกรรม เด็กบางรายอาจพบว่ามีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่าง ๆ เช่น ดาวน์ซินโดรม มีศีรษะขนาดเล็ก
ระดับความรุนแรงของภาวะ บกพร่องทางสติปัญญา
บกพร่องทางสติปัญญาเลกน้อย (mild intellectual disability) ระดับ IQ 50-69 ต้องการความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว
บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง (moderate intellectual disability) ระดับ IQ 35-49 ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง ( severe intellectual disability) ระดับ IQ 20-34 ต้องการความช่วยเหลือมาก
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก (profound intellectual disability) ระดับ IQ < 20 ต้องการความช่วยหลือตลอดวลา
ความหมายเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการที่สมองของเด็กหยุด พัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์
ความบกพร่องของการทำหน้าที่ของสติปัญญาและการปรับตัว ส่งผลให้เกิดความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่าง ๆ
:tada:การพยาบาลเด็กทมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
การช่วยเหลือครอบครัว
ช่วยประคับประคองจิตใจของพ่อแม่ พยาบาลแสดงความเข้าใจและยอมรับปฏิกิริยา ความสูญเสียของพ่อแม่
ช่วยให้พ่อแม่ยอมรับลูกและมีความหวัง โดยการให้ข้อมูลที่เป็นจรงิ เกี่ยวกับสาเหตุการ เกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การป้องกันภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ระยะก่อนตั้งครรภ์ วัยเจริญพันธุ์โดยเฉพาะวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ควรได้รับความรู้เกี่ยวกับ ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการ
ระยะตั้งครรภ์ หญิงมีครรภ์ควรฝากครรภ์ตั้งแต่แรกและได้รับการตรวจครรภ์สม่ำเสมอ ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวในระหว่างตั้งครรภ์
ระยะคลอด หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับการทำคลอดในสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐาน
ระหลังคลอด เด็กจำเป็นต้องได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัว พ่อ แม่
กิจกรรมการพยาบาลต่อตัวเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะที่ 1 ใช้หลักพัฒนาการตามวัยปกติ ทฤษฎีการเรียนรู้และการปรับพฤติกรรม
ลักษณะที่ 2 การช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาที่มีปัญหาทางจิตเวช นิเวศบำบัด การทำจิตบำบัด
ลักษณะที่ 3 ด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพ เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาควรได้รับการศึกษาตามความสามารถอย่างเหมาะสมตามวัย
การประเมินผล
จะต้องมีการประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่ได้กำหนดไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนการนำความต้องการหรือ ปัญหาทางสุขภพของเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
วิเคราะห์ข้อมูลข้อเท็จจริงและสรุปเป็นข้อวินิจฉัย ทางการพยาบาลที่ครอบคลุมปัญหาของเด็กและครอบครัว
การประเมินสภาพ
การประเมินพัฒนาการ (developmental assessment)
การซักถามพ่อ แม่ หรือผู้ใกล้ชิด เพื่อช่วยในการประเมินความสามารถที่แท้จริง
สังเกตจากพฤติกรรมการเล่นของเด็ก เช่น การเล่นคนเดียว การเล่นกับคนอื่น
ใช้แบบคัดกรองพัฒนาการ
แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (พัฒนาการเด็กปฐมวัย) ประกอบด้วยข้อทดสอบ 4 ด้าน
คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ (Thai Deployment Skills Inventory: TDSI) แบบประเมินมี 70 ข้อ
การประเมินด้านร่างกาย (physical assessment)
ผลการตรวจอื่น ๆ เช่น ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจคลื่น หัวใจ
การตรวจร่างกาย เป็นการตรวจตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า เพื่อประเมินความผิดปกติ
การตรวจสภาพจิต ได้แก่ การตรวจลักษณะทั่วไป สีหน้าท่าทาง การแสดงออก การรับรู้ สภาพแวดล้อม กรพูดและการใช้ภาษา อารมณ์ ความคิด และการรับรู้ต่อตนเอง
การซักประวัติ เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการสำคัญ เช่น อายุของมารดา ภาวะสุขภาพของมารดา การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด
การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
สัมพันธภาพในครอบครัว เป็นการประเมินข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนสมาชิกในครอบครัว
ลักษณะนิสัยและบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคน ความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
:tada:สาเหตุ การบำบัดรักษาเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การบำบัดรักษาเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในทุก ๆ ด้าน
กิจกรรมบำบัด
การส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็กเพื่อใช้ในการหยิบจับสิ่งของ
ฝึกการทำงานของกล้ามเนื้อให้สามารถทำงานสัมพันธ์กันระหว่างตาและมือ (eye-hand co-ordination)
ส่งเสริมความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
กายภาพบำบัด เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เพื่อแก้ไขการเดินการ เคลื่อนไหวที่ผิดปกติ
การให้คำแนะนำครอบครัว เน้นการให้ข้อมูลในเรื่อง สาเหตุ แนวทางการรักษา และการพยากรณ์โรค
การรักษาโรคทางกาย ที่เป็นสาเหตุและความผิดปกติที่อาจพบร่วมด้วย
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา การจัดการศึกษาพิเศษเฉพาะเด็กที่มีภาวะบกพร่องทาง สติปัญญา
อรรถบำบัด เป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านการสอสาร โดยฝึกเด็กให้ใช้กล้ามเนื้อในการพูด การเปล่งเสียง และการออกสียงที่ถูกต้อง
การพื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ เป็นการฝึกอาชีพให้กับเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ซึ่งจะต้องเป็นงานที่ไม่ซับซ้อน
สาเหตุของเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ปัจจัยทางจิตสังคม พบว่า เด็กที่เติบโตมาท่ามกลางความยากจน ครอบครัวแตกแยกและผู้ เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิต
ปัจจัยทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของยีนที่มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมทำให้เกิด
ความผิดพลาดของการรวมตัวของยีน