Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลทีมีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า
โรคอารมณ์ซึมเศร้า (Depressive Disorders)
1 โรคซึมเศร้ารุนแรง (Major Depressive
Disorder)
1) การวินิจฉัยดูที่อาการแสดงครั้งเดียว หรือ
กลับเป็นอีกมากกว่า 2 ครั้ง
2) พิจารณาตามระดับความรุนแรงของอาการ :
mild, moderate, severe
3) มีอาการโรคจิตชัดเจน มีการสูญเสียการรับรู้
ความจริง หลงผิด ประสาทหลอน
4) มีอาการของโรคซึมเศร้าเรื้อรัง ต่อเนื่องและ
นานเป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปีขึ้นไป
5) มีอาการของโรคที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล
6) เป็นโรคซึมเศร้าที่เกิดในช่วงเวลาหลังคลอด
โดยมีอาการภายใน 4 สัปดาห์หลังคลอด
2 โรคซึมเศร้าดิสไธมิก (Dysthymic Disorder)
คล้ายโรคซึมเศร้ารุนแรง แต่อาการน้อยกว่า
มักเป็นอารมณ์เศร้าตั้งแต่วัยเด็กหรือวัยรุ่น
เป็นมาไม่น้อยกว่า 2 ปี (ในเด็กและวัยรุ่น
เป็นมาไม่น้อยกว่า 1 ปี)
มี 2 ลักษณะ : Early Onset (อาการเริ่มเป็นก่อนอายุ 21), Late Onset (อาการเริ่มเป็นหลังอายุ 21 ปีขึ้นไป)
3 โรคซึมเศร้าในช่วงก่อนมีประจ าเดือน
(Premenstrual Disphoric Disorder)
อารมณ์เศร้า วิตกกังวลเด่น อาการเปลี่ยนแปลงขึ้นๆลงๆ และกดดันในสัปดาห์ที่มีประจ าเดือน
อาการรบกวนการท างาน การเรียน กิจวัตรประจ าวัน
จะมีอาการเกิดขึ้นประจำ ในช่วงรอบเดือนส่วนใหญ่ของปีที่ผ่านมา
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า Dysthymic
1) มีอารมณ์เศร้าเกือบทั้งวันมากกว่า 1 วัน และ
เป็นมาไม่น้อยกว่า 2 ปี (ในเด็กและวัยรุ่น 1 ปี)
2) แสดงอาการต่อไปนี้มากกว่า 2 อาการ : ความอยากอาหารลดลงหรือมากเกินปกติ, นอนไม่หลับหรือนอนมากเกินปกติ, อ่อนเพลีย ไม่มีแรง, ความรู้สึกคุณค่าในตนเองต่ำ ,สมาธิเสีย ตัดสินใจลำบาก, สิ้นหวัง
3) ในช่วง 2 ปีที่มีอาการ ผู้ป่วยอาจไม่มีอาการใน 1. และ
ได้นานเกิน 2 เดือน
4) ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้ารุนแรงในระหว่าง 2 ปี หรืออาการ
5) ไม่มีอาการคลุ้มคลั่ง(Mania) อาการผสม(Mixed)คลุ้มคลั่งระดับต่ า(Hypomania) หรือเข้าเกณฑ์ของโรค Cyclothymia
6) ความผิดปกติต้องแยกออกจากโรคจิตชนิดอื่นๆ
7) อาการแสดงต้องไม่ใช่เกิดจากผลของยาเสพติด
หรือยารักษาโรคทางกาย
8) อาการแสดงต้องมีลักษณะเด่นด้านความ
ล้มเหลวในการเข้าสังคมและการประกอบอาชีพ
แนวทางการประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยซึมเศร้า
อารมณ์เศร้าตามสถานการณ์
(Transient depression)
เป็นความรู้สึกเศร้าเมื่อบุคคลรู้สึกผิด หรือเผชิญกับสถานการณ์ปัญหาในชีวิตประจำวันที่ผิดหวัง
ด้านอารมณ์ ผิดหวัง หงุดหงิด เศร้าใจ
ด้านพฤติกรรม เศร้า เสียใจ ร้องไห้
ด้านความคิด หมกมุ่นอยู่กับความผิดหวัง
ด้านสรีรวิทยา เหน็ดเหนื่อย อ่อนล้า
อารมณ์เศร้าระดับต่ า (Mild depression)
เป็นอารมณ์เศร้าที่เริ่มเบี่ยงเบนจากความเศร้า
ปกติ มีอาการต่อเนื่องและเพิ่มขึ้นกว่าระดับแรก
ด้านอารมณ์ โกรธ วิตกกังวล ผิดหวัง
ด้านพฤติกรรม น้ าตาไหล กระสับกระส่ายแยกตัว
ด้านความคิด หมกมุ่นอยู่กับการสูญเสีย
ต าหนิตนเองและผู้อื่น
ด้านสรีรวิทยา คลื่นไส้อาเจียน ปวดศรีษะปวดหลัง เจ็บหน้าอก
อารมณ์เศร้าระดับกลาง(Moderate depression)เป็นอารมณ์เศร้าที่แสดงถึงปัญหาการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเริ่มมีความผิดปกต
ด้านอารมณ์ เศร้า จิตใจห่อเหี่ยว สิ้นหวัง คุณค่าในตน
เองต่ า
ด้านพฤติกรรม เชื่องช้า ถดถอย แยกตัว พยายามท า
ร้ายตนเอง
ด้านความคิด ขาดสมาธิ ย้ าคิดย้ าท า คิดวกวน คิดใน
แง่ร้าย
ด้านสรีรวิทยา คลื่นไส้อาเจียน นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ
ปวดหลัง เจ็บหน้าอก ประจ าเดือนขาด เมื่อยล้า
อารมณ์เศร้าระดับรุนแรง (Severe depression)
เป็นอารมณ์เศร้าที่มากและรุนแรง
ด้านอารมณ์ เศร้ามาก สิ้นหวัง ไม่มีคุณค่า
โดดเดี่ยว
ด้านพฤติกรรม เชื่องช้า ถดถอย เฉย แยกตัว
ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
ด้านความคิด ขาดสมาธิ หลงผิด ตัดสินใจไม่ได้
ประสาทหลอน ต าหนิและคิดร้ายต้นเอง
ด้านสรีรวิทยา เฉื่อยชา ท้องผูก ไม่ปัสสาวะ
คลื่นไส้อาเจียน นอนไม่หลับ น้ าหนักตัวลด
กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยอารมณ์ซึมเศร้า
การวินิจฉัยการพยาบาล
พฤติกรรมการเสี่ยงต่อการท าร้ายตนเองจากความรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า โกรธ และแปลเหตุการณ์ผิดจากความเป็นจริง
การสูญเสียหน้าที่การท างาน ปฏิเสธการสูญเสีย การระบายความโกรธไม่เหมาะสม คิดซ้ าๆกับสิ่งที่สูญเสีย ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจประจ าวันได
การวางแผนการพยาบาล
ระยะสั้น
1) การสร้างสัมพันธภาพและส่งเสริมการปรับตัว
2) การป้องกันอันตราย
3) การส่งเสริมพฤติกรรมที่ดี และพัฒนาคุณค่าในตนเอง
4) การดูแลช่วยเหลือด้านสรีรวิทยา
ระยะยาว
1) การพัฒนาคุณค่าในตนเอง สนับสนุน ความสามารถในการท างาน การเผชิญปัญหาและการปรับตัวในครอบครัวและสังคม
2) การส่งเสริมความรู้สึกพึงพอใจในตนเอง และคุณค่าแห่งตน
การปฏิบัติการพยาบาล
1) การป้องกันอันตราย
2) การใช้เทคนิคการสื่อสาร และสร้างสัมพันธภาพ
4) การให้ค าปรึกษา
3) การสอนผู้ป่วย
5) การพัฒนาพฤติกรรมที่เหมาะสม
6) การแนะน าแหล่งบริการที่สะดวกส าหรับผู้ป่วย
และครอบครัว
การประเมินผล
พิจารณาถึงความส าเร็จของการปฏิบัติการ
พยาบาล ว่าบรรลุตามเป้าหมายหรือไม่
รวบรวมข้อมูลโดยการใช้ค าถาม เช่น
1) ผู้ป่วยยังมีความคิดท าร้ายตนเองอีกไหม
2) ผู้ป่วยยังมีความคิดซ้ าๆ ในเรื่องของการ
สูญเสียอยู่อีกไหม
3) ผู้ป่วยสามารถก าหนดเป้าหมายของตนที่
เป็นไปได้ได้ไหม