Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ความหมาย
ภาวะชั่วคราวที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ์ที่ตนประเมินและรับรู้ว่ามีความคุกคาม ที่อาจทำให้เกิดการสูญเสีย
พัฒนาการวิกฤต
ภัยพิบัติ
สถานการณ์วิกฤต
สาเหตุ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต
บุคคลเห็นว่าเหตุการณ์วิกฤตนั้นเป็น สิ่งคุกคาม ทำให้เกิดความสูเสีย ความปวดร้าว หรือความสิ้นหวัง
การแก้ไขปัญหา
บุคคลไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ อาจนำซึ่งอาการต่างๆทางจิตเวช เช่น ภาวะซึมเศร้า การมีลักษณะถดถอย ความสามารถในการทำหน้าที่ในเชิงสังคมลดลง
การแก้ปัญหาแบบมุ่งเน้นการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหามุ่งเน้นอารมณ์
เหตุการณ์วิกฤต
เป็นเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตสำหรับบุคคล ซึ่งเหตุการณ์วิกฤตในบุคคลหนึ่งอาจไม่เป็นปัญหาสำหรับอีกบุคคลหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการรับรู้ของเหตุการณ์
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีภาวะวิกฤตได้ระบายเรื่องราวความทุกข์ใจต่างๆ
ส่งเสริมให้บุคคลที่มีภาวะวิกฤตเข้าใจและยอมรับสถานการณ์ปัญหาวิกฤตของชีวิต
สร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ปรับเปลี่ยสภาพแวดล้อมของบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ดูแลช่วยเหลือเรื่องทั่วๆไป
ระยะวิกฤต
ระยะที่ 2 ระยะฉุกเฉิน
รู้สึกลังเล
รู้สึกขาดที่พึ่งและหมดหนทาง
ระยะที่ 3 vulnerable state
จะมีความตึงเครียดวิตกกังวลมากขึ้น
ระยะที่ 1 crisis stage
เจ็บหน้าอก ปากแห้ง หัวใจเต้นเร็ว
รู้สึกโกรธ
สับสน สมธิลดลง การตัดสินใจเสีย
ระยะที่ 4 stress and anxiety
เป็นจุดแตกหัก
บุคคลสูญญเสียความสามารถ
วัตถุประสงค์
ระยะสั้น
เพื่อลดความเครียดหรือความวิตกกังวลที่มีต่อภาวะวิกฤต
เพื่อลดอาการและอาการแสดงทางกายที่เกิดขึ้นในขณะนั้นๆให้กลับสู่ภาวะปติ
ระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤตของชีวิต
เพื่อส่งเสริมการแสวงหาและเตรียมความพร้อมแหล่งสนันสนุนช่วยเหลือทางสังคมที่เหมาะสมเพียงพอเมื่อต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤตของชีวิต