Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม 3.2 บุคคลที่มีความโกรธและควา…
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
3.2 บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว
สาเหตุ?
biological factors
สารสื่อประสารในสมอง
สารซีโรโทนิน (serotonin) สารโดปามีน (dopamine) สารอีพิฟ ริน (epinephrine)
และนอร์อีพิเนฟริน (norepinephrine) อยู่ในระดับผิดปกติ
การได้รับบาดเจ็บหรือความกระทบกระเทือนที่สมอง การมีเนื้องอกที่สมอง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือโรคอัลไซเมอร์
การเจ็บป่วยทางกายอื่นๆ
ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ำ หรือการเจ็บป่วยท้ังแบบฉับพลันและ เรื้อรังที่ส่งผลต่อความทุกข์ทรมาน และความมีคุณค่าในตนเอง หรือกระทบต่อความเป็นตัวตน
psychological factors
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory) ซิกมันด์ ฟรอยด์
บุคคลเลือกที่ใช้กลไกทางจิตแบบโทษตนเอง (introjections)
เพื่อจัดการกับความวิตกกังวลหรือความขัดแย้งภายใน
ซึ่งภาวะตัวตน (ego) ไม่เข้มแข็งเพียงพอที่สามารถจัดการได้ก็จะทําให้เกิดภาวะซึมเศร้าและทําร้ายตนเองในที่สุด
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
พฤติกรรมที่แสดงออกของอารมณ์โกรธน้ันเป็นผลมาจากการเรียนรู้ต่อสงิ่เร้าที่ไม่ได้ดังใจท่ีตนเองคาดหวังหรือกําหนดไว้
แสดงความโกรธออกมาแล้วส่งผลให้บุคคลน้ันได้รับการตอบสนองเป็นผลลัพธ์
psychosocial factors
แนวคิดทางด้านสังคมวิทยา (sociocultural theory)
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง ถูกทําร้าย
หรือถูกล่วงละเมิดทางเพศ
มักมีภาวะเก็บกดและมักแสดงออกถึงพฤติกรรมไม่เป็นมิตรก้าวร้าว และอารมณ์รุนแรงได้
เด็กท่ีเติบโตในครอบครัวที่มีพฤติกรรมรุนแรง
มักจะเลียนแบบพฤติกรรมของบิดา มารดา
ผู้เลี้ยงดู หรือบุคคลใกล้ชิดได
ลักษณะอาการและอาการแสดง
ด้านร่างกาย
ระบบประสาทซิมพาทิติก (sympathetic) จะได้รับการกระตุ้นทำให้เกิดดังนี้
อัตราการเต้น
หัวใจและความดันโลหิตสูงขึ้น หน้าแดง มือสั่น หายใจเร็วแรง
ระดับสารอีพิเนฟริน (epinephrine), นอร์ อีพิเนฟริน (norepinephrine) และระดับน้ําตาลในเลือดสูงขึ้น
ปวดศีรษะแบบไมแกรน หรืออาจมีผลกับระบบทางเดินอาหาร
ด้านจิตใจและอารมณ์
ขุ่นเคืองใจ ไม่พอใจ สูญเสียคุณค่า และศักดิ์ศรีในตนเอง คับข้องใจ วิตกกังวล
หากบุคคลเก็บกดความรู้สึกเหล่าน้ีที่เกิดจากความโกรธไว้นาน ๆ โดยไม่มีการระบายออกอย่าง เหมาะสมก็จะทําให้เกิดความแปรปรวนของพฤติกรรมตามมา ได้แก่
hostility
การเฉยเมย ไม่พูดไม่ทักทาย บึ้งตึง เคร่งครึม คิ้วขมวด ตาขวาง ถลึงตาจ้องมอง
มักจะใช้กลไกทางจิตแบบ projection และ displacement
aggression
พูดประชดประชัน ขู่ตะคอก พูดคําหยาบคาย ทะเลาะวิวาท ใชน้ำเสียง ถ้อยคําในการโต้ตอบที่รุนแรง ออกแรงกระแทกกระท้ันสิ่งของให้เสียงดัง
มักจะใช้กลไกทางจิตแบบ projection และ displacement
withdrawal
แยกตัว
มักจะใช้กลไกทาง จิตแบบปฏิเสธความจริง (denial of reality) แบบถดถอย (regression)
depression
เก็บกดอารมณ์โกรธไว้กับตนเอง ไม่กล้าแสดงออก
มักใช้กลไกทางจิตแบบโทษตนเอง (introjection) แบบเก็บกด (repression) และแบบฝืนทําให้ตรงข้ามกับความรู้สึก ท่ีแท้จริง (reaction formation)
violence
การทําลายข้าวของ การทําร้ายร่างกาย การฆ่าผู้อื่น การฆ่าตนเอง
มักจะใช้กลไกทางจิตแบบ projection
ความหมาย
เป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางด้านจิตใจและอารมณ์ของบุคคล
เป็นประสบการณ์ของความรู้สึกทางอารมณ์ที่เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจําวัน
สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนอารมณ์โกรธเป็นอารมณ์ ที่ต่อเนื่องกันจากความรู้สึกขุ่นเคืองใจ ไปจนถึงความรู้สึกไม่พอใจที่รุนแรงขึ้นไปเรื่อย ๆ
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึก ว่าตนเองถูกคุกคาม ไม่ปลอดภัย