Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม - Coggle Diagram
บทที่ 3
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
3.4 บุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและมีปัญหาฆ่าตัวตาย
ภาวะซึมเศร้า
บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้า
ท้อแท้ สิ้นหวัง และมองโลกในแง่ร้าย
ในช่วงระยะเวลาที่ยาวนาน และกระทบกระเทือนต่อวิถีการดำเนินชีวิต
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
2) ความสนใจในตนเองลดลง
รู้สึกอยากจะร้องไห้
สึกว่า ตนเองไร้คุณค่า ไม่มีประโยชน์ต่อสังคม
มีอาการเศร้า เป็นสำคัญ มีความรู้สึกหดหู่ใจ
ผู้ป่วยร้อยละ 75 หงุดหงิดง่าย และมีความรู้สึกขี้กลัว
มีความคิดเชื่องช้าลง ขาดสมาธิจำอะไรไม่ค่อยได้
1) การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ผู้ป่วยร้อยละ 25 จะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
ผู้ป่วยร้อยละ 25 น้ำหนักตัวลดลง ดูซูบซีด
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลง ไม่อยากอาหาร
นอนไม่หลับเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์
3) การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (mild depression/blue mood)
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (moderate depression/neurotic depression)
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง (severe depression/Psychotic depression)
การฆ่าตัวตาย (suicide)
ความหมาย
พยายามทำให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆ ที่ไม่ใช่อุบัติเหต
การฆ่าตัวตายถือเป็นพฤติกรรมที่ผิดปกติ และมีพยาธิสภาพทางจิตใจ
อัตวินิบาตกรรม หมายถึง การที่บุคคลมีความคิดอยากทำร้ายตนเอง
ลักษณะอาการและอาการแสดง
1) บุคคลจะพยายามทำร้ายตนเองด้วยวิธีการต่างๆ
กลุ่มผู้ที่มีความคิดว่า การฆ่าตัวตาย คือ ทางออกที่ดีที่สุด
ท้อแท้ สิ้นหวัง รู้สึกไร้คุณค่า และขาดที่พึ่ง
มีการพยายามฆ่าตัวตาย (attempted suicide)
2) บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆ
พูดเปรยๆ หรือบอกผู้อื่นในเชิงขู่
ตนจะทำฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม (threatened suicide)
3) บุคคลกลุ่มนี้จะมีอารมณ์ซึมเศร้าชัดเจน
มีความมุ่งมั่นที่จะฆ่าตัวตายให้สำเร็จ
ต้องการให้เกิดผลโดยแท้จริง
การฆ่าตัวตายสำเร็จ (completed suicide / committedsuicide)
3. สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย
3.1 สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า
1) แนวคิดด้านกลไกทางจิตใจ
2) แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงของสารชีวเคมีในร่างกาย
3.2 สาเหตุการฆ่าตัวตาย
1) สาเหตุด้านชีวภาพ
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย (medical factors)
ชีววิทยาของการฆ่าตัวตาย (biochemical factors)
2) สาเหตุด้านจิตใจ
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
สาเหตุทางด้านสังคม
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
สาเหตุด้านจิตวิญญาณ
4. การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้าและที่มีปัญหาฆ่าตัวตาย
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำ เนื่องจากเคยมีประวัติการทำร้ายร่างกายตนเองก่อนหน้า
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
ขาดทักษะการเผชิญปัญหา เนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและไร้ความหมาย
3) กิจกรรมการพยาบาล
เสนอตัวให้ความช่วยเหลือผู้ป่วย และนั่งเป็นเพื่อนผู้ป่วยแม้ว่าผู้ป่วยปฏิเสธ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
กล่าวทักทายผู้ป่วยสม่ำเสมอ พร้อมเรียกชื่อผู้ป่วยทุกครั้ง
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์ สังเกตอาการข้างเคียง
ของยาที่อาจเกิดขึ้น และช่วยเหลือทันที
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยสามารถตั้งเป้าหมายในชีวิต และมีความหวังในชีวิตมากยิ่งขึ้น และมีพลังในการปฏิบัติตนให้บรรลุผลตามเป้าหมาย
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
4.1 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
ประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย และกิจวัตรประจำวัน
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ประเมินความสนใจในสิ่งแวดล้อม
ประเมินการได้รับสารอาหาร
ประเมินบุคลิกภาพ
3.3 บุคคลที่มีภาวะสูญเสียและเศร้าโศก
2) ภาวะเศร้าโศก (grief)
ที่เกิดขึ้นภายหลังจากบุคคลเผชิญกับการสูญเสียหรือคาดว่าจะมีการสูญเสียเกิดขึ้น
ปฏิกิริยาทางอารมณ์และจิตใจ
ประเภทและลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
1) ประเภทและลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะสูญเสีย (loss)
การสูญเสียตามช่วงวัย (maturational loss)
การสูญเสียภาพลักษณ์หรือ อัตมโนทัศน์(loss of body image or some aspect ofself)
การสูญเสียสิ่งของภายนอก (loss of external object)
การสูญเสียความรักหรือบุคคลสำคัญในชีวิต(loss of a love or a significant other)
2) ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะเศร้าโศก (grief)
การเศร้าโศกแบบปกติ (normal grief)
ระยะเผชิญกับการสูญเสีย
•อาการแสดงทางกายที่พบได้บ่อย คือ มีความรู้สึกหายใจขัด
อาการแสดงทางจิตใจที่พบได้บ่อย คือ มีความคิดหมกมุ่น
การเศร้าโศกแบบผิดปกติ (maladaptive grief)
chronic grief reaction เป็นปฏิกิริยาความเศร้าโศกเรื้อรัง
delayed grief reaction เป็นปฏิกิริยาเศร้าโศกที่ล่าช้า
ระยะเฉียบพลัน
มีอาการตื่นตะลึง ตัวชา และปฏิเสธ
มีความโกรธกล่าวโทษตำหนิบุคคลใกล้ชิด ผู้ช่วยเหลือ
ระยะนี้เกิดขึ้นในช่วง 4 – 8 สัปดาห์แรก
1) การสูญเสีย (loss)
ซึ่งบุคคลให้คุณค่าและให้ความหมายว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญกับชีวิต
มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับภาวะเศร้าโศก
การที่บุคคลพลัดพรากจากบุคคล สัตว์เลี้ยง สิ่งของ อวัยวะ
บางคนไม่สามารถเผชิญต่อการสูญเสียได
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อให้การรักษาพยาบาลเรื่องอาการและอาการแสดงทางกายให้กลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ว
เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วยมีส่วน
เพื่อลดภาวะซึมเศร้าหรืออาการแสดงที่เป็นภาวะเศร้าโศรกแบบผิดปกติให้กลับสู่ภาวะปกติ
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อฝึกทักษะการยอมรับความจริงของชีวิตโดยเฉพาะในเรื่องการสูญเสีย
เพื่อฝึกการใช้วิธีในการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์
3) กิจกรรมการพยาบาล
ใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสียที่เกิดขึ้น
สร้างสัมพันธภาพแบบตัวต่อตัว ให้เกิดความไว้วางใจในตัวพยาบาล
พยายามรับฟังอย่างเข้าใจ ยอมรับในพฤติกรรม และมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกต่อการสูญเสียนั้น
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความรู้สึกค้างคาใจที่มีต่อผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วได้อย่างเหมาะสม จะช่วยทำให้อารมณ์เศร้าโศกลดลงได
ชี้ให้ผู้ป่วยเปรียบเทียบกับประสบการณ์การสูญเสียของตนเองกับผู้อื่นที่มีลักษณะรุนแรงกว่า เพื่อให้เกิดความรู้สึกบรรเทาความทุกข์ใจของตนเอง
ส่งเสริมกิจกรรมที่จะนำไปสู่การสร้างความหวัง และศรัทธาในชีวิตรวมถึงที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ เช่น พระ หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ผู้ป่วยจะใช้เป็นที่พึ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจได้
1) การประเมินภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
ประเมินระดับความรุนแรงของอาการและอาการแสดงที่เป็นผลจากความสูญเสียแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ประเมินระดับการให้คุณค่า และความหมายของสิ่งสูญเสียในมุมมองของผู้ป่วย
ประเมินลักษณะบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ประสบการณ์การสูญเสียในอดีต รูปแบบที่ใช้จัดการการสูญเสียและภาวะเศร้าโศกของผู้ป่วย
ประเมินความพร้อมแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมผู้ป่วยเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์สูญเสีย