Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน - Coggle Diagram
บทที่ 6
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
ความหมายของภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
ภาวะที่บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านความคิด อารมณ์ ความสัมพันธ์ทางสังคม หรือ พฤติกรรมอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง
ลักษณะอาการและอาการแสดงของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior)
เป็นพฤติกรรมในความพยายามหรือลงมือกระทำการทำร้าย ทำลาย ทั้งร่างกาย จิตใจ ตนเองผู้อืนและสิ่งของ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บุคคลหรือสิ่งของที่ถูกกระทำได้รับความเจ็บปวด การบาดเจ็บ
พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior)
มีหลายรูปแบบ ตั้งแต่การอยากฆ่าตัวตายที่วางแผนล่วงหน้าเป็นเดือนเป็นปี หรือเป็นการฆ่าตัวตายหรือการทำร้ายตนเองที่เกิดจากอารมณ์ชั่ววูบ
suicidal intention ความต้องการที่จะฆ่าตัวตาย
suicide committed suicide การฆ่าตัวตายสำเร็จ
suicidal ideation ความคิดอยากฆ่าตัวตาย
suicidal attempt การพยายามฆ่าตัวตาย
self-injurious or self-harm behavior พฤติกรรมที่ตั้งใจทำร้ายตนเองให้บาดเจ็บ เจ็บปวดหรือส่งผลทำลายร่างกายโดยไม่มี suicidal intention
ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium)
เป็นกลุ่มอาการทางสมองเฉียบพลัน (acute brain syndrome) ผู้ป่วยจะเสียการรู้คิด (cognition) ทั้งหมดและมีอาการทาง neuropsychiatric syndrome ต่างๆ ในช่วงเวลาสั้นๆ ภายใน 2-3 ชั่วโมง หรือ 2-3 วัน ซึ่งประกอบด้วย อาการสับสนเกี่ยวกับวันเวลา สถานที่ บุคคล (disorientation) กระวนกระวาย
บ่งชี้ว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มที่จะมีภาวะสับสนเพ้อคลั่ง
อายุที่เริ่มมีความผิดปกติทางจิตครั้งแรกมากกว่า 45 ปี
มีประวัติโรคทางกายรื้อรัง เช่น เบาหวาน ตับวาย ไตวาย
มีประวัติใช้สารเสพติด
มีประสาทหลอนทางตาหรือทางผิหนังมากกว่าอาการประสาทหลอนทางหู
มีประวัติอาการทาระบบประสาท หมดสติ ชัก อุบัติเหตุทางสมอง
กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome)
เป็นกลุ่มอาการที่มีการหายใจเร็วอย่างมาก ส่งผลให้เกิดภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำ (hypocapnia) และเกิดภาวะด่างจากการหายใจ
การมีอาการขึ้นมาทันทีทันใด
หายใจลึกและเร็วเป็นเวลาหลายนาทีโดยที่ไม่รู้ตัว
ชาบริเวณริมฝีปาก นิ้วมือ นิ้วเท้า ผู้ป่วยอาจอ่อนแรงและสุดท้ายอาจหมดสติได้
ผู้ป่วยอาจจะบอกว่า รู้สึกเหมือนสำลัก หายใจไม่ออก (suffocation) ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วผู้ป่วยมักจะมีความเครียดทางอารมณ์เป็นปัจจัยกระตุ้น
อาการแพนิค (panic attack disorders)
กลัวอย่างรุนแรง พร้อมกับมีอาการทางกายหลายอย่างร่วมด้วย
อาการเกิดทันทีและเป็นมากถึงระดับสูงสุดภายใน 10 นาที ร่วมกับอาการทางกายดังต่อไปนี้อย่างน้อย 4 อาการ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก มือสั่น ตัวสั่น หอบ หายใจไม่ออก เจ็บแน่นหน้าอก คลื่นไส้แน่นท้อง เวียนศรีษะเป็นลม กลัวตาย ชาเจ็บตามผิวหนัง รู้สึกหนาวๆ ร้อนๆ ตามตัว
อาจมีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 1 อย่างเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน ได้แก่กลัวจะเป็นอีก, กลัวจะควบคุมตนเองไม่ได้, กล้วเป็นโรคห้วใจหรือกลัวเสียสติ, มีพฤติกรรมผิดปกติ เช่น ขาดงาน หรือขาดโรงเรียน, อาการที่มีไม่ได้เป็นมาจากภาวะความเจ็บป่วยทางกาย
อาการพิษจากสารเสพติดและอาการขาดสาร (substance intoxication and withdrawal)
สุรา (alcohol)
อาการพิษสุรา (alcohol intoxication)
พฤติกรรมก้าวร้าว การตัดสินใจเสีย และมีอาการทางกายร่วมด้วย เช่น พูดไม่ชัด กาทรงตัวเสีย เดินไม่มั่นคง
อาการมักเป็นรุนแรงในวันที่ 2 จะเกิดกลุ่มอาการเหงื่อออกมาก ชีพจรเร็ว มือสั่น นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน
อาการขาดสุรา (alcohol withdrawal)
อาการขาดสุราจะเกิดภายใน 4 - 12 ชั่วโมง แต่บางรายอาจมีอาการหล้งหยุด 2-3 วัน
แอมเฟตามีน (amphetamine)
อาการพิษของแอมเฟตามีน (amphetamine intoxication)
รู้สึกสบายผิดปกติ ร่วมกับอารมณ์รื่นเริงสนุกสนาน จนถึงขั้นความรู้สึกตื่นตัวสูง
อาการขาดแอมเฟตามีน (amphetamine withdrawal)
เกิดขึ้นเนื่องจากผู้ป่วยขาดแอมเฟตามีนภายใน 2-3 ชั่วโมงจนถึงหลายวัน หลังหยุดเสพหรือลดปริมาณลงจะเกิดอาการรู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ฝันร้าย นอนไม่หลับ หรือหลับมาก พลุ่งพล่าน กระวนกระวาย อยากเสพยาอย่างรุนแรง
ฝิ่น (opioid)
อาการพิษจากฝิ่น (opioid intoxication)
อารมณ์ร่าเริงในระยะแรกแล้วเปลี่ยนเป็นรู้สึกไม่สุขสบาย พลุ่งพล่าน กระวนกระวายหรือเชื่องช้า และมีอาการทางกาย เช่น ม่านตาหด พูดไม่ชัด สมาธิและความจำเสีย
อาการขาดฝิ่น (opioid withdrawal)
ขาดสารจะเกิดภายใน 6-24 ชัวโมง โดยจะเกิดอาการวิตกกังวล กระวนกระวาย อยากเสพฝิ่น รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ฝันร้าย นอนไม่หลับ
สาเหตุของของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior)
พฤติกรรมรุนแรงที่มีสาเหตุจากโรคทางจิต (functional causes)โรคจิตเภทชนิดหวาดระแวง โรคไบโพล่าร์ที่มีอาการแมเนียจนควบคุมตนเองไม่ได้
พฤติกรรมรุนแรงที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางกาย (organic causes) เช่น พิษจากยา สารเสพติด อาการขาดสารเสพติด โรคลมชัก
พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior)
โรคทางจิตเนื่องจากการปรับตัว (adjustment disorder)
โรคซึมเศร้า (major depressive disorder)
โรคจิตเภท (schizophrenia
ติดสุราหรือยาเสพติด
บุคลิกภาพผิดปกติ (personality disorder)
ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium)
ประสบอุบัติเหตุกระทบกระเทือนสมอง
metabolic disorder
endocrinopathy
systemic lines
ยาที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการสับสนเพ้อคลั่ง
กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome)
มีสาเหตุหรือปัจจัยในการเกิดกลุ่มอาการหายใจถี่ แม้ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดแต่ผู้ป่วยมักจะเริ่มตันมีการหายใจที่ผิดปกติ เมื่อถูกกระตุ้นโดยความเครียดและอารมณ์ท่วมท้น
โดยสารสื่อประสาทชนิดกระตุ้น (excitatory neurotransmitter) จะส่งผลให้ระบบการหายใจใช้กล้ามเนื้อส่วนอกมากกว่ากระบังลม ผลคือทำให้ลมค้างในปอดปริมาณมาก
อาการแพนิค (panic attack disorders)
พันธุกรรม
ปัจจัยทางจิตใจ
การมีจุดอ่อนทางชีวภาพแฝงอยู่
การบำบัดรักษาของภาวะจิตเวชฉุกเฉินที่พบบ่อย
พฤติกรรมรุนแรง (violence behavior)
ความปลอดภัยของตัวผู้ป่วยเอง ผู้ป่วยอื่น ญาติ และบุคลากรทุกคน โดยประเมินความเสี่ยงเมื่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษาจากประวัติอาการสำคัญที่นำผู้ป่วยมาโรงพยาบาล
การป้องกันการเกิดพฤติกรรมรุนแรง (violence precautions) โดยพยาบาลต้องสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยแสดงท่าที่เป็นมิตร สงบ พร้อมที่จะช่วยเหลือ ไม่คุกคามผู้ป่วย อยู่ในระยะห่างที่พอเหมาะคืออย่างน้อยประมาณ 3 ฟุต หรือ 1 ช่วงแขน
การควบคุมพฤติกรรมรุนแรง (violence control) ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมตนเองได้มีท่าทีที่จะต่อสู้หรือจะทำร้ายร่างกายผู้อื่น พยาบาลต้องแจ้งให้ผู้ป่วยทราบว่าจำเป็นต้องควบคุมพฤติกรรมของผู้ป่วยโดยการย้ายผู้ป่วยไว้ในห้องแยก จับและผูกยึด และให้ยาเพื่อสงบอาการตามคำสั่งการรักษา
การแยกหรือจำกัดบริเวณ (seclusion)
และป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยทำร้ายผู้อื่นด้วยการจำกัดบริวณ
การผูกมัด (physical restraints) ในกรณีที่ผู้ป่วยมีพฤติกรรมรุนแรงมากมีแนวโน้มที่จะทำร้ายผู้อื่นและตนเองจะต้องมีการตรียมบุคลากรที่เพียงพออย่างน้อย 5-6 คน ในการจับยึดและผูกมั
พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicide behavior)
การรักษาทางกายเป็นอันดับแรก สำหรับผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตายมาก่อนเข้ารับการรักษา
การป้องกันและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายซ้ำ (suicide precautions) พยาบาลต้องพยายามไม่ให้ผู้ป่วยฆ่าตัวตายซ้ำขณะรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลทั้งในห้องฉุกเฉินและ/หรือในหอผู้ป่วยใน
การประเมินและวางแผนการดูแลต่อเนื่อง การประเมินสาเหตุของการฆ่าตัวตายและประเมินความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายซ้ำ
ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง (delirium)
การบำบัดรักษาด้วยยา ที่นิยมใช้ antipsychotics drug ได้แก่ haloperidol ใน
กลุ่มอาการหายใจถี่ (hyperventilation syndrome)
ให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย (reassurance) ว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นไม่มีอันตรายถึงชั้นเสียชีวิตเพื่อลดระดับความกังวลและกลัวของผู้ป่วย
อาการแพนิค (panic attack disorders)
ใช้หลัn therapeutic communication ให้กำลังใจและประคับประคองจิตใจ แสดงความใส่ใจสัมผัสร่างกายผู้ป่วยตามความเหมาะสม เพื่อทำให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย
อาการพิษจากสารเสพติดและอาการขาดสาร (substance intoxication and withdrawal)
ใช้ยา antidote เช่น narcane (narloxone) ในรายที่ได้สารพวกฝิ่นหรืออนุพันธ์ของฝิ่น (เฮโรอีน) เกินขนาด
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
การจำแนกผู้ป่วย (triage)
รประเมินและคัดกรองภาวะสุขภาพแบบองค์รวมอย่างรวดเร็ว จากการสังเกตพฤติกรรมและอาการผิดปกติ สัมภาษณ์อาการสำคัญ สาเหตุที่นำมาหน่วยฉุกเฉิน
ให้การพยาบาลบำบัดดูแลระยะแรก
ตามความรุนแรงของปัญหาที่ประเมินได้เพื่อจัดการให้ผู้ป่วยปลอดภัยและอาการสงบลง
การช่วยเหลือผู้ป่วยทันทีทันใด (immediate)
การช่วยเหลือผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน (emergency) ต้องให้การดูแลภายใน 10 นาทีการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
หลักในการจัดการดูแลผู้ปวยกลุ่มนี้ คือ สังเกดและให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา ให้การรักษาเพื่อให้อาการสงบ เฝ้าระวังและมีการประเมินภาวะสุขภาพจิตและระดับความรุนแรงซ้ำ
การประเมินและบำบัดต่อเนื่อง (continue with evaluation and intervention)
การจำหน่ายหรือส่งต่อผู้ป่วยไปยังหน่วยบำบัดอื่น (discharge or refer patient)