Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน, นางสาวนงลักษณ์ อรรถสวัสดิ์ รุ่น 36/1 …
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
(Data Collection)
ข้อมูลปฐมภูมิ
Data observed
collected directly from first-hand experience
ข้อมูลทุติยภูมิ
Publish data
data collected in the part
Database
Family Folder
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ข้อมูลทั่วไปชุมชน
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
เครื่องมือ/วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต (Observation)
การสำรวจ (Survey)
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)
การวัดและประเมิน (Measurement)
การทดสอบ (Test)
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด (Census)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)
การวิเคราะห์ข้อมูล
(Data analysis)
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
Inferential Stat.
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
การนำเสนอข้อมูล
(Data presentation)
Text
Table
Bar Chart
Pie Chart
Line Graph
Pyramid Diagram
การวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D
Dead
Disability
Disease
Discomfort
Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
4 M; Man, Money, Material, and Management, Moral , Rule, time
ความวิตกกังวล
การระบุสาเหตุ และโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
การวางแผนการพยาบาลชุมชน (Community Planning)
การวางแผน
การวางแผนเป็นเรื่องของการเตรียมการ
การวางแผนเป็นเรื่องของการกระทำอย่างจงใจ
การวางแผนเป็นเรื่องของการจัดกระทำเพื่อผลในอนาคต
ความสำคัญของการวางแผน
การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
การวางแผนเป็นศูนย์กลางการประสานงาน
การวางแผนทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปโดยประหยัด
มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
การวางแผนเป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหาร
ลักษณะแผนงานที่ดี
มีความง่ายในการปฏิบัติ
มีความเป็นพิธีการ
มีความยืดหยุ่น
มีความครอบคลุม
มีความแม่นตรง
มีความสมบูรณ์
มีความชัดเจน
มีความง่ายในการควบคุม
มีความประหยัด
ประเภทของแผน
แผนระดับสูง
แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน(Plan)
ข้อกำหนดหรือรายละเอียดต่างๆของการดำเนินงานในอนาคต
แผนงาน
กลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
โครงการ
กลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน มุ่งตอบสนองเป้าหมาย
ในแผนงานเดียวกัน โดยมีเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ชัดเจน
แบบประเพณีนิยม (Convention method)
ชื่อโครงการ
การตั้งชื่อโครงการนั้นต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
S : Sensible (เป็นไปได้ )
M : Measurable (วัดได้)
A : Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ)
R : Reason (เป็นเหตุเป็นผล)
T : Time (เวลา)
เป้าหมาย
เป็นการกำหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
วิธีดำเนินการ หรือกิจกรรม หรือขั้นตอนการดำเนินงาน
ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ
งบประมาณ
การประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framwork method)
การลงมือปฏิบัติตามแผนงาน
(Community Implementation)
การประเมินแผนงาน
(Community Evaluation)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
เป็นการประเมินผลลัพธ์หรือผลงานในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายมากน้อยเพียงใด
ประสิทธิภาพ(Efficiency)
เป็นการประเมินว่าผลงานที่ได้ออกมาสิ้นเปลืองงบประมาณหรือทรัพยากรเพียงใด
ความพอเพียง(Sufficiency)
เป็นการประเมินว่าโครงการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ในระดับใด
ความเหมาะสม(Appropriateness)
ประเมินเพื่อดูว่าการจัดบริการสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการหรือไม่ เพียงใด
ความเสมอภาค (Equality)
ประเมินเพื่อดูว่าใครบ้างมีโอกาส หรือไม่มีโอกาสได้รับผลลัพธ์โครงการ
นางสาวนงลักษณ์ อรรถสวัสดิ์ รุ่น 36/1
รหัสนักศึกษา 61111301053 เลขที่ 52