Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม (Dementia) - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
เป็นกลุ่มอาการที่มีการเสื่อมถอยของการทำงานของสมองด้านความคิด การรับรู้อย่างน้อยหนึ่งด้านโดยมี ความสามารถลดลงจากเดิมที่เคยดีมาก่อน โดยที่ผลการเปลี่ยนแปลงนี้ มีผลกระทบต่อการด าเนินชีวิตของผู้ป่ วย จนไม่สามารถทำหน้าที่การงาน เข้าสังคม เรียนรู้ ตัดสินใจ แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
สูญเสียความสามารถทางสติปัญญา (Deterioration of Intellectual function)การตัดสินใจบกพร่อง สูญเสียความจำโดยเฉพาะความจ าในปัจจุบัน ท าให้ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ สูญเสียความสามารถทางภาษา พูดสื่อสารไม่เข้าใจ(aphasia) ไม่สามารถทำกิจกรรมที่เคยท าได้ ( apraxia ) หรือไม่สามารถเรียกชื่อสิ่งของที่เคยใช้ว่าเป็ นอะไร (agnosia ) ถ้ามีอาการมากจะไม่สามารถจ าชื่อคนใกล้ชิด ลูกหลานได้
กิจกรรมทั่วไปบกพร่อง (Deterioration of habits)ผู้ป่ วยจะคิดนึกอะไรไม่ออก เนื่องจากสมองสูญเสียการท าหน้าที่ บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น เคย สุภาพ แต่งกายสะอาด กลายเป็ นคนละคนไปเลย
อารมณ์แปรปรวน (Emotional disability)อารมณ์ไม่คงที่ ควบคุมไม่ได้ โดยเฉพาะเวลาถูกขัดใจจะโวยวายคล้ายเด็ก มีอาการทางจิต หลงผิด หวาดระแวง ซึมเศร้า ประสาทหลอนร่วมด้วย
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
สมองเสื่อมแบบ Alzheimerซึ่งเป็ นกลุ่มโรคที่มีความเสื่อมของเซลประสาทมากขึ ้นเรื่อยๆ และด าเนินโรคแบบค่อยเป็ นค่อยไป เป็ นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะสมองเสื่อม โดยทั่วไปมักพบในผู้ที่มีอายุ มากและส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ ้น พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย การเสื่อมของเซลล์ประสาทเกิด จาก neurofibrillary tangle (NFT) และ beta amyloid plaque ที่สะสมมากขึ ้นจนเซลล์ประสาทตายและการ ท างานของสมองส่วนต่างๆผิดปกติ ผู้ป่ วยจะมีอาการตามสมองส่วนที่สูญเสียหน้าที่ ผู้ป่ วยจะมีความจ าบกพร่อง เป็ นอาการแรกๆ ความจ าที่บกพร่องเป็ นความจ าใหม่ๆ
สมองเสื่อมที่เกิดจากพยาธิสภาพของหลอดเลือด พบได้ร้อยละ20 เช่น หลอดเลือดอุดตัน ผู้ป่ วยที่มี ประวัติความดันเลือดสูง
สมองเสื่อมจากสาเหตุอื่นๆ ได้แก่โรคเรื ้อรัง เบาหวาน ไทรอยด์ โลหิตจาง ติดเชือ
การบำบัดรักษาบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม
การรักษาด้วยยา ยังไม่มียาที่ใช้แก้ไขสาเหตุได้ การให้ยาโดยทั่วไปเป็ นการบรรเทาอาการ ช่วยชะลอ ความแย่ลงของอาการ ยากลุ่มที่ใช้ในปัจจุบันมี 3 ชนิด คือ donepezil, rivastigmine และ galantamine ผู้ป่วยบางคนที่รู้ว่าตนเป็ นสมองเสื่อม จะรู้สึกท้อแท้ มีภาวะซึมเศร้า วิตกกังวลร่วมด้วย บางรายพบว่ามีอาการ ทางจิตเวชร่วมด้วย เช่น อาการทางจิต หงุดหงิด ก้าวร้าว ในกรณีนี ้ แพทย์อาจให้ยาต้านโรคจิต ยาต้านเศร้า หรือ ยาคลายความวิตกกังวล เพื่อลดอาการทางจิตเวช
การรักษาโดยไม่ใช้ยา ไม่มีความเสี่ยงจากผลข้างเคียงของยา ซึ่งผู้ป่ วยทุกคนสามารถท าได้ เช่น การ ออกก าลังกาย ฝึ กความคิด ความจำเล่นเกมต่างๆ ดนตรีบ าบัด สัตว์เลี ้ยงบ าบัด สุคนธบำบัด เป็นต้น
3 การดูแลทั่วไป
1 การปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันของตนองที่เป็ นพื ้นฐาน ( basic ADL)
2 การดูแลสิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัย ทั้งด้านความปลอดภัยและความเหมาะสมเช่น การเตรียม บ้าน ห้องนอน ห้องน้ำไม่ทำให้เกิดอันตราย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็น
3 การดูแลฟื ้นฟูทั ้งด้านร่างกาย จิตใจ และอาชีพ ได้แก่ การออกก าลังกาย การฟื ้นฟูความ แข็งแรงของกล้ามเนื ้อ การเคลื่อนไหวข้อต่อต่างๆ การมีกิจกรรมที่ท าให้สดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีความสุขซึ่งจะช่วยลดภาวะซึมเศร้า และความเครียด
4 การดูแลในวาระสุดท้ายของชีวิต ผู้ป่ วยสูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจะมีการถดถอย ไม่ สามารถท ากิจวัตรหรือหน้าที่ต่างๆ และเสียชีวิตในที่สุด การร่วมเป็ นทีมที่ปรึกษาดูแลโรค ทางกายจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต
กระบวนการพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม
การประเมินผู้ป่วย
1 สอบถามจากญาติเกี่ยวกับ ความจ า ความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ สภาพอารมณ์ การใช้ภาษา การรับรู้ วัน เวลา สถานที่ บุคคล การแสดงพฤติกรรม การใช้ยา ความเจ็บป่ วย
2 ความสามารถในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน การดูแลตนเอง
การวินิจฉัยการพยาบาล
1 กระบวนการคิดและสติปัญญาแปรปรวนเนื่องจากความเสื่อมของเซลสมอง
2 การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากสูญเสียความจ าและความเข้าใจสิ่งต่างๆ
การปฏิบัติการพยาบาล
1 สอนญาติที่จะเป็ นผู้ดูแลผู้ป่ วย เนื่องจากผู้ป่ วยโรคนี ้ไม่จ าเป็ นต้องอยู่โรงพยาบาล โดยให้ญาติมี ความเข้าใจอาการของโรคยอมรับความผิดปกติที่เกิดขึ ้นกับผู้ป่ วย
2 ผู้ป่ วยที่เริ่มรู้ว่าตนเองมีอาการหลงลืมจะรู้สึกสูญเสีย ตกใจ เศร้า พยาบาลหรือผู้ดูแลควรให้ผู้ป่ วยได้ ระบายและพูดถึงความรู้สึก ให้ก าลังใจในการแก้ไข เช่น จดสิ่งที่จะต้องท า การนัดหมาย ความ ต้องการต่างๆ
3 ผู้ป่ วยที่หลงลืม ไม่ควรพูดล้อเลียน ต าหนิให้ผู้ป่ วยเสียหน้า ควรแนะน าหรือเตือนอย่างสุภาพ
4 ดูแลสุขอนามัยด้านร่างกายของผู้ป่ วยเพราะผู้ป่ วยที่มีปัญหาการสื่อสารจะไม่สามารถบอกความ ผิดปกติที่เกิดขึ ้นได้
5 ดูแลความสะอาด สุขอนามัยส่วนตัว การอาบน ้า แปรงฟัน แต่งตัว การขับถ่าย
6 หลีกเลี่ยงการทดสอบความจ าหรือความสามารถเพราะจะท าให้ผู้ป่วยวิตกกังวลมากขึน