Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.9 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า กลุ่ม…
บทที่ 5.9 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ โรคซึมเศร้า กลุ่ม Disruptive mood dysregulation disorder (DMDD)
การวินิจฉัย
- D. ในช่วงที่ไม่ใช่การระเบิดอารมณ์มีลักษณะ หงุดหงิด หรือ โกรธเคืองอย่างต่อเนื่องเป็นส่วนใหญ่ของแต่ละวัน เกือบทุกวันและผู้อื่นสังเกตได้
- E. มีอาการนานตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป และช่วงที่ผู้ป่วยไม่มีอาการนานติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน
- C. การระเบิดอารมณ์เกิดขึ้นโดยเฉลี่ย 3 ครั้งต่อสัปดาห์หรือมากกว่า
- B. การระเบิดอารมณ์ไม่เหมาะสมกับระดับของพัฒนาการ
- F. มีอาการอย่างน้อยใน 2 สถานการณ์และรุนแรงอย่างน้อย 1 สถานการณ์
-
- A. มีการระเบิดอารมณ์อย่างรุนแรงซ้ำๆทางวาจาและทางพฤติกรรม เช่น ทำร้ายผู้อื่นหรือข้าวของ
- H. ไม่เคยมีช่วงเวลาที่มีการเข้าเกณฑ์วินิจฉัย mania หรือ hypomania นานมากกว่า1 วัน แต่ไม่ได้เป็นจาก major depressive disorder หรือโรคทางจิตเวชอื่น หรือเกิดจากฤทธิ์ของยาหรือสารเสพติดหรือจากโรคทางกาย
-
ลักษณะอาการทางคลินิก
-
- มีปัญหาในการควบคุมอารมณ์ มีการระเบิดอารมณ์ตอบสนองต่อสถานการณ์หรือสิ่งยั่วยุที่รุนแรง
- ทั้งการแสดงออกทางวาจาและพฤติกรรมต่อบุคคลหรือสิ่งของในเวลาที่รู้สึกถูกขัดใจหรือคับข้องใจ
- มักแสดงออกโดยมี อารมณ์โกรธ พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงเป็นประจำ
สาเหตุ
-
- พบว่ามีปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคแบบ ชีวจิตสังคม เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ครอบครัวแตกแยกครอบครัวมีประวัติโรคในกลุ่มโรควิตกกังวลหรือโรคซึมเศร้าในครอบครัว
- เกี่ยวกับการเลี้ยงดูแบบมีการทารุณกรรมเด็กหรือการเลี้ยงดูโดยที่เด็กไม่พัฒนาความสามารถในการควบคุมอารมณ์ตนเองได้
การวินิจฉัยแยกโรค
- ต้องแยกโรคจากโรคที่ผู้ป่วยมีอารมณ์หงุดหงิดรุนแรงและเรื้อรัง ได้แก่ opposition deflat disorder, intermittent explosive disorder, depressive disorder อื่นๆ
- sorder อื่นๆ รวมทั้ง bipolar disorderโดยแยกโรคตาม เกณฑ์วินิจฉัยของแต่ละโรค
การรักษา
- การให้คำปรึกษาเรื่องการเลี้ยงดู
- การประพฤติติกรรมการรักษาด้วยวิธี cognitive behavioral therapy
- การรักษาด้วยยากลุ่ม atypical antipsychotics,mood stablilzers,และ selective serotonin reuptake inhibitor สามารถช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมก้าวร้าวได้ดีขึ้น
- การรักษาโรคทางจิตเวชพ่อแม่
-