Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนงานและโครงการ, การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและการวินิจฉัยชุมชน,…
การวางแผนงานและโครงการ
คือ
การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร ทำอย่างไร ทำเมื่อใด และใครเป็นผู้ทำ
ความสำคัญการวางแผน
เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
เป็นศูนย์กลางการประสานงาน
ทำให้การปฏิบัติงานต่างๆเป็นไปโดยประหยัด
เป็นเครื่องมือควบคุมงานของนักบริหาร
ลักษณะของแผนที่ดี
มีความชัดเจน
มีความสมบูรณ์
มีความแม่นตรง
มีความครอบคลุม
มีความยืดหยุ่น
มีความเป็นพิธีการ
มีความง่ายในการปฏิบัติ
มีความง่ายในการปฏิบัติ
มีความง่ายในการควบคุม
มีความประหยัด
ประเภทของแผน
แผนระดับสูง(แผนยุทธศาสตร์)
เป็นแผนครอบคลุมวัตถุประสงค์เชิงนโยบาย
แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน ข้อกำหนดหรือรายละเอียดของการดำเนินงานในอนาคต
แผนงาน กลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปมุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกัน
โครงการ กลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน ตอบสนองเป้าหมายและแผนงานเดียวกัน เวลาเริ่มและสิ้นสุดชัดเจน
โครงการและการเขียนโครงการ
วิธี
แบบประเพณีนิยม
1.ชื่อโครงการ เข้าใจง่ายแสดงลักษณะงาน
2.หลักการและเหตุผล ทำไมต้องทำโครงการนั้นทำแล้วได้อะไร ไม่ทำเกิดผลเสียอะไร
3.วัตถุประสงค์ มีความต้องการให้เกิดอะไรขึ้น เขียนให้เป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรม อาจมีวัตถุประสงค์มากกว่า1ข้อ
S sensible เป็นไปได้
M measurable วัดได้
A attainable ระบุสิ่งที่ต้องการ
R reason เป็นเหตุเป็นผล
T time เวลา
4.เป้าหมาย กำหนดทิศทางและความต้องการการบรรรลุวัตถุประสงค์ขยายให้เป็นรูปธรรม
5.วิธีดำเนินการ ใคร ทำอะไร มีปฏิทินปฏิบัติงานชัดเจน
6.ระยะเวลาการดำเนินงาน
7.งบประมาณ จำแนกรายการค่าใช้จ่ายระบุยอดงบประมาณ
8.การประเมินผล บอกแนวทางติดตาม และเกณฑ์ที่ใช้ในการวัด
ประสิทธิผล เชิงปริมาณ คุณภาพ
ประสิทธิภาพ การสิ้นเปลืองงบประมาณหรือการใช้ทรัพยากรเพียงใด
ความเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการหรือไม่
ความเสมอภาค ประเมินดูว่าใครมีโอกาสบ้าง
9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ สำคัญที่ผู้เสนอโครงการและผู้อนุมัติโครงการ
แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและการวินิจฉัยชุมชน
ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี แปลว่าชุมชนมีสุขภาวะ
การเตรียมชุมชน
สร้างสัมพันธภาพกับชุมชน
ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดบริการ
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือ
การสังเกต
การสำรวจ
การใช้แบบสอบถาม
การวัดและประเมิน
การทดสอบ
การสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive stat
inferential stat
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การนำเสนอข้อมูล
ถูกต้อง กระชับ น่าสนใจ เข้าใจง่าย
ตาราง บรรยาย
แผนภูมิกง เรียงลำดับจากมากไปน้อยเวียนขวา
แผนภูมิแท่ง เพื่อแสดงการเปรียบเทียบข้อมูลเห็นภาพชัดเจน
แผนภาพ แสดงการเพิ่มขึ้นลดลงชัดเจน เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D Dead disability Disease Discomfort Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม
การเขียนปัญหาสุขภาพชุมชน เริ่มจากใคร เป็นอะไร ปริมาณเท่าไหร่
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา พิจารณาจาก%ของจำนวนประชากรที่เป็นปัญหา
ความรุนแรง พิจารณาจาก 5D
ความยากง่าย พิจารณาจากการสอบถามในกลุ่มคิดถึงวิธีการแก้ปัญหา
ความวิตกกังวล พิจารณาจากการสอบถามประชาชนในพื้นที่นั้นๆ
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
ทางทฤษฎี
เกิดขึ้นจริง
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน