Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทท่ี 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลท่ีมีความวิตกกังวลและความเคร…
บทท่ี 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลท่ีมีความวิตกกังวลและความเครียด
ความวิตกกังวล
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย หรือตื่นตระหนก ต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและเกรงว่าจะเกิดอันตรายหรือความเสียหายซึ่งอาจ เกิดข้ึนจริงหรือคิดข้ึนเองจากสิ่งที่ไม่รู้ไม่แน่ใจ ซึ่งบอกไม่ได้ชัดเจน ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและพฤติกรรม
การตอบสนองบุคคล
มีพฤติกรรมชะงักงันหรือถดถอย (paralysis and retreating behavior) บุคคลจะ หลีกเลี่ยงการแกัปัญหา แยกตัว เก็บตัว หลับ ซึมเศร้า หลีกเล่ียงการพูดถึงเรื่องตัวเอง
มีการเจ็บป่วยทางกาย (somatizing) เช่น เครียดแล้วมีอาการปวดศีรษะ หายใจลําบาก ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ ปวดท้อง มีการเปล่ียนแปลงของรอบเดือน
มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการต่อสู้ (acting out behavior) โดยความวิตกกังวลจะ เปล่ียนไปเป็นความโกรธ โต้เถียง ข่มขู่ ต่อต้าน ก้าวร้าว ทําลายข้าวของ พฤติกรรมรุนแรง เจ้ากี้เจ้าการ
มีพฤติกรรมเผชิญความวิตกกังวลในเชิงสร้างสรรค์ (constructive behavior) เช่น การ แก้ปัญหาโดยกระบวนการแก้ปัญหา (problem solving) โดยการที่ค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาสาเหตุและ วิธีการแก้ไขปัญหาตัดสินใจเลือกวิธีที่ดีทีสดุ ลงมือกระทําและประเมินผลการกระทํานั้น
ระดับ
ความวิตกกังวลปานกลาง (moderate anxiety) +2 เมื่อมีเหตุการณ์มากระตุ้นให้เกิดความวิตกกังวล บุคคลจะมีความตื่นตัวมากขึ้น พยายามควบคมุ
ตนเองมากข้ึน และใช้ความพยายามในการแก้ปัญหาสูงข้ึน สติสัปชัญญะยังคงมีอยู่แต่มีคล่ือนไหวมากขึ้นจนเกือบจะ ลุกลี้ลุกลน การรับรู้แคบลง
ความวิตกกังวลรุนแรง (severe anxiety) +3 บุคคลมีระดับสติสัมปชัญญะลดลง
ความวิตกกังวลต่ำ(mild anxiety) +1
เป็นความวิตกกังวลระดับเล็กน้อย ที่เกิดขึ้นเป็นปกติในบุคคลทั่วไป จะช่วยกระตุ้นให้บุคคล ตื่นตัว และพยายามแก้ปัญหาในการทํากิจกรรมต่งๆ ได้สําเร็จ
ความวิตกกังวลท่วมท้น (panic anxiety) +4 เมื่อความวิตกกังวลที่มีไม่ได้รับการระบายออกหรือแก้ไขให้ลดลง
ความเครียด
ชนิด
ความเครียดฉับพลัน (acute stress) ความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีและร่างกายก็ตอบสนองต่อ ความเครียดนั้นทันที่
ความเครียดเรื้อรัง (chronic stress) ความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวันและร่างกายไม่สามารถ ตอบสนองต่อความครียดนั้น
ระดับความเครียด
moderate stress เป็นความเครียดในระดับปกติเกิดข้ึนได้ใน ชีวิตประจําวัน ST 20 ระดับคะแนน 24 - 41 คะแนน
high stress เป็นความเครียดที่เกิดจากเหตุการณ์รุนแรง สิ่งต่าง ๆ สถานการณ์หรือเหตุการณ์รอบตัวที่แกไ้ ขจัดการปัญหานั้นไม่ได้ รู้สึกขัดแย้ง ปรับความรู้สึกด้วยความลําบากส่งผลต่อ การใช้ชีวิตประจําวัน แบบประเมิน ST 20 ระดับ คะแนน 42 - 61 คะแนน
mild stress เป็นความเครียดในระดับน้อยและหายไปได้ในระยะเวลาส้ันไม่คุกคามต่อการดําเนินชีวิต ST 20 =0-23
severe stress เป็นความเครียดระดับสูงและเรื้อรังต่อเนื่องหรือกําลัง เผชิญกับวิกฤตของชีวิต เช่น เจ็บป่วยรุนแรง เรื้อรังมีความพิการ สูญเสียคนรัก ทรัพย์สินหรือสิ่งที่รักจนทําให้บุคคลนน้ั มีความล้มเหลวในการปรับตัว ชีวิตไม่มีความสุข ความคิดฟุ้งซ่าน การตัดสินใจไม่ดี แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 62 คะแนนขึ้นไป
การตอบสนอง
ระยะเตือน
ระยะช็อก หลั่งสาร เอพิเนฟรินและคอร์ติโชน (epinephrine and cortisone) บุคคลจะรับรู้ต่อสิ่งกระตุ้นแบบรู้ตัว หรือไม่รู้ตัว บุคคลเต
รียพร้อมท่ีจะสู้หรือถอยหนี ระยะอาจใช้เวลาประมาณตั้งแต่ 1 นาที ถึง 24 ชั่วโมง
ตอบสนองช็อก ร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ
ระยะต่อต้าน จะใช้กลไกการป้องกันตัวที่เหมาะสม
ระยะหมดแรง
แบบประเมิน
แบบคัดกรองความเครียด (ST5)
แบบประเมินระดับ ความเครียด (ST20)