Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การพยาบาล บุคคลที่มีภาวะวิกฤต - Coggle Diagram
บทที่ 2 การพยาบาล
บุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ความหมาย
เกิดขึ้นชั่วคราว เมื่อเราเผชิญเหตุการ์เราประเมินและรับรู้ได้ว่า เหตุการณ์ที่เผชิญ
ภาวะวิกฤต (crisis)
ระยะที่ 1 ระยะที่บุคคลที่อยู่ในระยะวิกฤตๆ(crisis stage)
มีความเครียดคล้ายๆวิตกกังวลมากขึ้น
อาการ
สับสนๆสมาธิลดลงๆการตัดสินใจเสียๆ
มีอาการทางกายๆ
รู้สึกผิดและละอายๆ(guilt and shame)
รู้สึกโกรธๆ(anger
ระยะที่ๆ2 ระยะฉุกเฉิน
ยังคงใช้ความพยายามจัดการแก้ไขเหตุการณ์
ที่มา คุกคามหรือปั ญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้ทักษะการแก้ไขปั ญหาในภาวะ
ฉุกเฉินๆ เช่นๆ การลองผิดลองถูกๆ (trial and errorattempt s) หากไม่ได้ผลๆ บุคคลจะมีภาวะที่อ่อนไหวๆ(vulnerable state)
อาการ
รู้สึกขาดที่พึ่งและหนดหนทางๆ (helplessness) อาจถึงขั้นพยายามฆ่าตัวตายในที่สุด
รู้สึกลังเลๆ(ambivalence) ต้องมีบุคคลอื่นให้ก าลังใจและให้ความช่วยเหลือ
ระยะที่ๆ3 ระยะบุคคลอยู่ในภาวะที่อ่อนไหวๆ(vulnerable state)
ระยะที่บุคคลอยู่ในภาวะที่อ่อน
ไหวๆ (VULNERABLE STATE) ได้รับปั จจัยส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ที่มาคุกคาม หรือปัญหาที่เกิดขึ้นๆต่างๆ มากระตุ้นบุคคลจะมีความตึงเครียดวิตกกังวลๆfinal stress and anxiety)มากขึ้นๆ
ระยะที่ๆ4 ระยะไม่สามารถรับความตึงเครียดวิตกกังวลที่มากขึ้นอีกต่อไปๆ (intolerable level)
ระยะไม่สามารถรับความตึงเครียดวิตกกังวลที่มากขึ้นอีกต่อไป(INTOLERABLE LEVEL) เป็นจุดแตกหักๆ(breaking point) บุคคลนั้นสูญเสียความสามารถในแก้ไขปัญหาไม่สามารถการกำหนดตัวปัญหาๆประเมินปัญหา แยกแยะปัญหาบนพื้นฐานของความเป็นจริง
สาเหตุ
การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต หากบุคคลเห็นว่าเหตุการณ์วิกฤต
เป็น สิ่งคุกคามๆ (THREAT)
การแก้ไขปั ญหา หากไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้ๆอาจน ามาซึ่ง
อาการต่างๆ ทางจิตเวช
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีภาวะวิกฤตได้ระบายเรื่องราวความทุกข์ใจต่างๆ ๆโดยใช้ค าถามปลายเปิดๆ
รายงานแพทย์ถึงอาการและอาการแสดงทางกายที่มีความสัมพันธ์กับภาวะวิกฤติ
เปิดโอกาสให้พูดถึงกลวิธีการเผชิญปั ญหาที่เคยใช้มาก่อน
ส่งเสริมสนับสนุนและวางแผนร่วมกันกับในการแสวงหาความช่วยเหลือๆในการเผชิญกับปัญหาชีวิตที่ เหมาะสมจากครอบครัวๆญาติ