Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.1 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคความผิ…
บทที่ 5.1
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
ความหมาย
โรคทางจิตเวชที่ บุคคลมีความคิด ความรู้สึก ต่อรูปร่าง น้ำหนัก และการกินอาหารของตนที่บิดเบือนจากความเป็น จริงอย่างรุนแรง ส่งผลทำให้บุคคลมีลักษณะความผิดปกติของพฤติกรรมการรับประทานอาหาร มีความเข้มงวดกับการพยายามลด หรือควบคุมน้ำหนักอย่างมาก โดยมีกลวิธีทั้งการอดอาหาร การหักโหมการออกกำลังกาย และทำให้ตนอาเจียนออกหลังจากรับประทานอาหาร
anorexia nervosa
อาการและอาการแสดง
ภาวะที่บุคคลปฏิเสธการมีน้ำหนักตัวปกติวิตกกังวลเกี่ยวกับน้ำหนักตัวของตนเองตลอดเวลา มีความกลัวอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของหนักตัว กลัวอ้วนมากๆทั้งที่น้ำหนักน้อย
ผู้ป่วยปฏิเสธการรับประทานอาหารเพื่อคงไว้ซึ่งน้ำหนักตัวใน
ระดับปกติ รู้สึกกังวลและกลัวว่าตนเองจะอ้วนมากเกินไป ทำให้ผู้ป่วยบางรายไม่รู้สึกอยาก รับประทานอาหาร หรือพยายามที่จะลดน้ำหนักด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การออกกำลังกายอย่างหักโหม ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ผู้ป่วยมีหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ
ผู้ป่วยจะให้คุณค่ากับตนเองในการประสบความสำเร็จในการ
ลดน้ำหนักตัวและรูปร่าง
มีความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้อื่นผิดปกติไป มักคิดว่า
ตนเองปกติแต่ผู้อื่นผิดปกติ
bulimia nervosa
อาการและอาการแสดง
ภาวะที่ร่างกายมีความรู้สึกผิดปกติ เห็นอาหารแล้วเกิด ความอยากบริโภคในปริมาณมากกว่าปกติโดยไม่สามารถควบคุมตนเองได้ การบริโภคอาหารแต่ละครั้งจะบริโภคในปริมาณมากในเวลารวดเร็ว เมื่อบริโภคเสร็จแล้วจะรู้สึกผิดไม่สบายใจ และพยายามเอาอาหารที่บริโภคเข้าไปออกด้วยวิธีการต่างๆ
ลักษณะที่ 1 ในระยะแรก ผู้ป่วยจะตื่นเต้นเวลารับประทานอาหาร ไม่สามารถหยุดรับประทานอาหารได้ พยายามปกปิดอาการที่ตนเป็น
ลักษณะที่ 2 มีความรู้สึกว่าไม่สามารถที่จะควบคุมการรับประทานอาหารได้ในระหว่างนั้น จึงแสดงออกพฤติกรรมชดเชยไม่เหมาะสม เช่น ทำให้ตนเองอาเจียน ใช้ยาระบาย ใช้ยาขับปัสสาวะ
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ด้านพันธุกรรม
ด้านสารสื่อประสาทในสมอง
serotonin ผิดปกติมากที่สุด
ปัจจัยด้านจิตใจ
มักพบในกลุ่มวัยรุ่น
พัฒนาการติดอยู่ที่ปาก
บุคลิกภาพ
ลักษณะการเลี้ยงดู
การบำบัดรักษาโรคความผิดปกติของการรับประทานอาหาร
การบำบัดรักษาทางกาย
ปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนหญ่มา
จากสาเหตุภาวะขาดสารอาหาต้องการการดูแล
รักษาอย่างใกล้ชิดให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียง
การบำบัดรักษาด้วยยา
bulimia nervosa
ยาต้านโรคจิตกลุ่มใหม่ ได้แก่ ยาโอลานชาปน(olanzapine)
anorexia nervosa
ยาต้านเศร้ากลุ่ม selective serotonin reuptake inhibitor
การพยาบาล
3.การดูแลให้ได้รับสารอาหารและน้ำเพียงพอต่อร่างกาย
4.ดูแลให้อาหารทางสายให้อาหาร (tube feeding)
2.บันทึกปริมาณสารอาหารและน้ำที่ได้รับในแต่มื้อ
5.ดูแลผรูั้บบริกรอย่างใกล้ชิดระหว่างรับประทานอาหารและ
หลังรับประทานอาหาร
1.ผู้รับบริการมีความรู้สึกอยากล้วงคออาเจียน หลังรับประทานอาหารให้พยาบาลอยู่เป็นเพื่อน เพื่ีอกระตุ้นให้ทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อเบี่ยงเบนความรู้สึก