Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Gastroenteritis (AGE) โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน - Coggle Diagram
Acute Gastroenteritis (AGE)
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
อาการแสดงสําคัญ
ถ่ายอุจจาระผิดปกติโดยถ่ายเป็นน้ำ หรือน้ำปนมูกเลือดอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น มีไข้ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด น้ำหนักลด ตัวบวมจากการสูญเสียโปรตีนในลำไส้ โลหิตจางจากการสูญเสียเลือดทางลำไส้
Acute watery diarrhea ได้แก่การถ่ายอุจจาระเป็นน้ำไม่มีเลือดปน อาจมีอาเจียนและไข้ร่วมด้วย
2.Dysentery ได้แก่ การถ่ายอุจจาระที่เหลวมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า ปัญหาสำคัญคือ อาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลดและเยื่อบุลำไส้ถูกทำลายโดยเชื้อรุกล้ำผ่านทางลำไส้ สาเหตุในกลุ่มที่เป็นเฉียบพลันมักมาจากเชื้อShigella
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยความรุนแรงจากการขาดสารน้ำ
การวินิจฉัยหาสาเหตุโดยการตรวจอุจจาระ (Stool exam)
เพาะเชื้อแบคทีเรียจากอุจจาระ (Stool Culture)
การวินิจฉัยความสมดุลของอิเล็กโตรไลท์และกรด-ด่าง
การรักษา
ในปัจจุบันไม่มีการรักษาเฉพาะสำหรับโรคGastroenteritis โดยทั่วไปร่างกายของผู้ป่วยมักฟื้นตัวจากอาการต่างๆและหายดีได้เองภายใน 1 สัปดาห์
อาจเบาเทาอาการได้ด้วยตนเองในเบื้องต้น
ดื่มน้ำมากๆหรือดื่มเครื่องดื่มเกลือแร่เพื่อทดแทนน้ำและแร่ธาตุที่สูญเสียจากอาการท้องเสียและป้องกันภาวะขาดน้ำ
รับประทานอาหารอ่อนๆ เช่นกล้วย ข้าวต้ม ซุปและโจ๊ก
พักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์และคาแฟอีน จนกว่าร่างกายจะฟื้นตัว
ใช้ยาต้านจุลชีพ
พยาธิสภาพ
เกิดจากการติดเชื้ออะมีบา หรือเรียกว่า บิดมีตัว ที่สำคัญได้แก่shigellosis,
salmonellosis, และ amoebiasis เป็นต้น
พบได้บ่อยที่สุดเป็นพวกเชื้อไวรัสซึ่งทำให้เกิดอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน นอกจากนี้อาจจะเกิดเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนมากับอาหาร
สาเหตุ
4.การอุดกั้นของลำไส้ใหญ่ในโรคHirsch sprung disease ซึ่งมีความผิดปกติของระบบประสาตลำไส้ใหญ่ตั้งแต่กำเนิด
5.ภูมิต้านทานของร่างกายผิดปกติ
3.ปัจจัยทางจิตวิทยา ความเครียดหรืออารมณ์ที่แปรปรวนทำให้ลำไส้ทำงานมากกว่าปกติ
2.อาหาร เชื่อว่าเป็นปัจจัยกระตุ้นอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะนม เช่น การแพ้นมวัว อาหารรสจัด
การติดเชื้อซึ่งเป็นได้ทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว หรือพยาธิสภาพ โดยส่วนใหญ่เชื้อRota virus จะเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุจจาระร่วงแบบเฉียบพลัน
พันธุกรรม ประมาณร้อยละ 15-20 ของผู้ป่วยโรคนี้จะมีญาติพี่น้องที่เป็นด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภาวะแวดล้อมและปัจจัยกระตุ้นอื่นๆด้วย
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะพร่องเอนไซม์ย่อยนมหรือแพ้น้ำตาลแล็กโทส
ลำไส้แปรปรวนทำให้มีอาการ เช่น แน่นท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือปวดท้องมาก
ภาวะขาดน้ำและระดับเกลือแร่ในร่างกายไม่สมดุล
การติดเชื้อแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย
การป้องกัน
ห้ามรับประทานปลาหรือเนื้อสัตว์ดิบและห้ามรับประทานอาหารในที่ใช้ใส้เนื้อสัตว์ดิบ
ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งหลังไอ จาม เข้าห้องน้ำ และก่อนรับประทานอาหาร
ล้างอาหารและผักให้สะอาด ปรุงเนื้อสัตว์และไข่ให้สุกดีก่อนรับประทานทุกครั้ง และหากรับประทานอาหารเหลือควรเก็บใส่ช่องแช่แข็งทันที