Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม 3.1 บุคคลที่มีความวิตกกังวลแ…
สรุปบทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
3.1 บุคคลที่มีความวิตกกังวลและความเครียด
ชนิด ระดับของความวิตกกังวลและความเครียด
ความวิตกกังวล
ชนิดของความวิตกกังวล
acute anxiety
เป็นความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มีเหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคาม ทําให้บุคคลเกิดความวิตกกังวล อาจเรียกว่า ภาวะวิตกกังวล
chronic anxiety
เป็นความรู้สึกหวาดหวั่นไม่เป็นสุขขาดความ มั่นคงปลอดภัยที่แฝงอยู่ในตัวของบุคคลตลอดเวลา จึงอาจเรียกว่าอุปนิสัยวิตกกังวล
normal anxiety
พบได้ทั่วไปเป็นแรงผลักดัน
ให้ชีวิตประสบความสําเร็จ
ระดับของความวิตกกังวล
moderate anxiety +2
ระดับปานกลาง
severe anxiety +3
ระดับรุนแรง
mild anxiety +1
ระดับเล็กน้อย
panic anxiety +4
ท่วมท้น
ความเครียด
ชนิดของความเครียด
ความเครียดฉับพลัน
acute stress
ความเครียดเรื้อรัง chronic stress
ความเครียดจากการทํางาน
ระดับความเครียด
moderate stress
เป็นความเครียดในระดับปกติเกิดขึ้นได้ในชีวิตประจําวัน อาจรู้สึกวิตกกังวลหรือกลัวแต่ไม่แสดงออกถึงความเครียดที่ชัดเจน ความเครียดระดับนี้ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่ก่อให้เกิดอันตราย
แบบประเมิน ST 20 ระดับ คะแนน 24 - 41 คะแนน
severe stress
ความเครียดระดับสูงและเรื้อรังต่อเนื่องหรือกําลังเผชิญกับวิกฤตของชีวิต เช่น
เจ็บป่วยรุนแรงเรื้อรัง มีความพิการ
สูญเสียคนรัก ทรัพย์สินหรือสิ่งที่รักจนทําให้บุคคลนั้นมีความล้มเหลวในการปรับตัว
ชีวิตไม่มีความสุข
ความคิดฟุ้งซ่าน
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 62 คะแนนขึ้นไป
high stress
เป็นความเครียดท่ีเกิดจากเหตุการณ์รุนแรง สิ่งต่าง ๆ สถานการณ์หรือเหตุการณ์รอบตัวที่แก้ใขจัดการปัญหาน้ันไม่ได้ รู้สึกขัดแยง้ ปรับความรู้สึกด้วยความลําบากส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจําวัน
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 42 - 61 คะแนน
mild stress
หายไปได้ในระยะเวลาสั้น ไม่คุกคามต่อการดําเนินชีวิต อาจมีความรู้สึกเพียงแค่ เบื่อหน่าย ขาดแรงกระตุ้น และมีพฤติกรรมท่ีเช่ืองช้าลง
แบบประเมิน ST 20 ระดับคะแนน 0 - 23 คะแนน
สาเหตุ?
ความวิตกกังวล
ด้านจิตสังคม
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytictheory) แนวคิดของฟรอยด์
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
ด้านสังคม
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เชื่อว่าความวิตกกังวลเกิดจาก สัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี
ด้านชีวภาพ
neuroanatomical factors
บุคคลที่มีลักษณะทาง กายภาพของระบบประสทบกพร่องมาแต่กําเนิดส่งผลให้การสื่อสารทางชีวเคมีบางอย่างแตกต่างกับผู้อื่น
medical factors
ผู้ปวยโรคหัวใจแบบเฉียบพลัน
biochemical factors
บุคคลที่ไวต่อสารบางอย่าง เช่น caffeine lactate ท่ีมีในเลือดสูงจะกระตุ้นให้เกิด panic disorder ได้ง่าย
ความเครียด
สาเหตุจากภายนอก
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพภูมิอากาศ
การเปลี่ยนงาน
การย้ายถิ่นฐานที่อยู่
ปัญหาความสัมพันธ์
ภัยพิบัติ
สาเหตุภายในตัวบุคคล
ภาวะสุขภาพของตนเอง
ความพิการหรือความผิดปกติของสรีะร่างกายท่ีมีมาแต่กำเนิด
ภาวะเจ็บปวยที่เผชิญอยู่
การเจริญเติบโตหรือพัฒนาการล่าช้า
ความหมาย ลักษณะอาการและอาการแสดง การตอบสนอง?
ความาวิตกกังวล
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเบลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
หวาดหวั่น กลัว มองตนเองไร้ค่า สับสนก ตกใจง่าย หงุดหงิด โกรธง่าย ก้าวร้าว เศร้าเสียใจง่าย ร้องไห้ง่าย สงสัยบ่อย ซักถามมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ขาดความสนใจ ขาดความคิดริเริ่ม รู้สึกว่าช่วยเหลือตนเองไม่ได้ มีปัญหาเรื่องสัมพันธภาพกับผู้อื่น มีพฤติกรรมเรียกร้องมากเกินไปพึ่งพาผู้อื่นหรือแยกตัว
การเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญ
ความคิด ความจําลดลง คิดไม่ออก หมกมุ่น ไม่ค่อยมีสมาธิ พูดติดขัด การรับรู้และการตัดสินใจผิดพลาด มีความคิด และการกระทําซ้ำๆ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ระบบประสาท
ตาพร่า หูอื้อ ปากแห้ง เหงื่อออก มือสั่น รูม่านตาขยาย
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
มีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย มือสั่น
ระบบทางเดินปสัสาวะและระบบสืบพันธุ์
ปัสสาวะบ่อยปัสสาวะไม่สุดมี การเปลี่ยนแปลงในรอบเดือน ความรู้สึกทางเพศลดลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ เจ็บหน้าอก ใจสั่น
ความดันโลหิตสูง หน้าแดง
ระดับรุนแรง จะพบว่ามีน้ําตาลในเลือดสูงเลือด เลือดไประบบย่อยอาหารน้อย และจะเลือดไปเลี้ยงกล้ามน้อย
ระดับรุนแรงสุดขีดจะทําให้เกิดอาการเป็นลมหน้ามืด ความดันโลหิตลดต่ำลง ผิวซีด
ระบบทางเดินอาหาร
กลืนลําบาก ปากแห้ง ท้องอืด ท้องเฟ้อ อึดอัดแน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องเดิน
ระบบทางเดินหายใจ
มีอาการสะอึก หายใจเร็ว หายใจลําบาก
การตอบสนอง
constructive behavior
แก้ปัญหาโดยกระบวนการแก้ปัญหา
somatizing
ปวดศีรษะ ปวดท้อง หายใจลำบาก
paralysis and retreating behavior
หลีกหนีปัญหา แยกตัว
acting out behavior
พฤติกรรมรุนแรง ก้าวร้าว
ความหมาย
ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวายกระสับกระส่าย หรือตื่น ตระหนกต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง
ความเครียด
การตอบสนอง
การตอบสนองด้านร่างกาย
alarm reaction
counter shock phase shock phase
ร่างกายจะปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม
shock phase
บุคคลเตรียพร้อมท่ีจะสู้หรือถอยหนี ระยะอาจใช้เวลาประมาณต้ังแต่ 1 นาที ถึง 24 ชั่วโมง
stage of exhaustion
ปรับตัวต่อต้านความเครียดเต็มท่ี
โดยจะใช้กลไกการป้องกันตัวที่เหมาะสม
stage of exhaustion
เกิดภาวะอ่อนล้า เหนื่อยและหมดแรง มีการใช้กลไก ป้องกันตัวเองที่ไม่เหมาะสม มีพฤติกรมแปรปรวน มีการรับรู้ความป็นจริงบิดเบือน น้ําหนักตัวลดลง ต่อมไร้ ท่อต่าง ๆโตขึ้น ระดับฮอร์โมนสําคัญต่าง ๆ สูงขึ้น
การตอบสนองด้านจิตใจ
หนี (flight)
การนอนหลับ ช็อปปิ้ง หันไปใช้สารเสพติด
ยอมรับและเผชิญกับความครียด (fight)
หาความช่วยเหลือ หาข้อมูล
ลักษณะอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจสังคม
วิตกกังวลโกรธง่ายหงุดหงดิ ซึมเศร้าท้อแท้ การตัดสินใจไม่ดี สมาธิสั้น ขี้ลืม ไม่มีควมคิดริเริ่ม ความจําไม่ดี แยกตัว
การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรม
ดึงผมตัวเอง
กัดเล็บ
ร้องไห้
ติดบุหรี่ สุรา
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ มีเสียงด้งในหู ปวดตาม กล้ามเนื้อ อ่อนแรงหายใจไม่อิ่ม หัวใจเต้นเร็ว มือย็น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ท้องผูก
ความหมาย
ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายและจิตใจที่มีต่อสิ่งกระตุ้น (stressor) และบุคคลนั้นได้ประเมินแล้วว่าสิ่งกระตุ้นนั้นคุกคามหรือทําให้ตนเองรู้สึกไม่มั่นคง ปลอดภัย หากบุคคลมี
ความครียดระดับสูงและสะสมอยู่นานๆ จะก่อให้เกิดโรคทางกายและทางจิตได้