Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน และประกอบด้วย 5 ขั้นตอน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
และประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน และการวินิจฉัยชุมชน
ขั้นตอนการศึกษาชุมชน
2.การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive stat
Inferential stat
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
3.การนำเสนอข้อมูล
Bar chart
Pie chart
Table
Line graph
Text
Pyramid Diagram
1.การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลจากผู้ใหข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ข้อมูลที่ต้องรวบรวม
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
เครื่องมือ
การใช้แบบสอบถาม
การวัดและประเมิน
การสำรวจ
การทดสอบ
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่าง
การวางแผนงานและโครงการ
การวางแผน
คือ การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร ทำอย่างไร ทำเมื่อใด และใครเป็นผู้ทำ
สาระสำคัญ 3 ประการ
เป็นเรื่องของการกระทำอย่างจงใจ
เป็นเรื่องของการจัดกระทำเพื่อผลในอนาคต
เป็นเรื่องของการเตรียมการ
ความสำคัญ
เป็นศูนย์กลางการประสานงาน
ทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปโดยประหยัด
เป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
เป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหาร
ประเภทของแผน
แผนระดับสูง
แผนระดับปฏิบัติการ
แผน(Plan)
แผนงาน(Program)
โครงการ(Project)
โครงการและการเขียนโครงการ
คือ ส่วนที่จะทำให้แผนปฏิบัติการที่วางไว้กลายเป็นจริง
ที่นิยมมี 2 วิธี
แบบประเพณีนิยม
แบบตารางเหตุผลสัมพัทธ์
การเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม
3.วัตถุประสงค์
ใคร ต้องการให้เกิดอะไร
M:Measurable(วัดได้)
A:Attainable(ระบุสิ่งที่ต้องการ)
R:Reason(เป็นเหตุเป็นผล)
T:Time(เวลา)
S:Sensible(เป็นไปได้)
4.เป้าหมาย
ขยายวัตถุประสงค์ให้เป็นรูปธรรม
ใคร ปริมาณที่ต้องการวัด ต้องการให้เกิดอะไร ภายในระยะเวลาที่กำหนด
2.หลักการและเหตุผล
ที่มาของปัญหาระดับประเทศ
ที่มาของปัญหาระดับพื้นที่
ที่มาของปัญหาระดับโลก
สาเหตุของปัญหาคืออะไร
ขมวดว่าปัญหานั้นสำคัญจึงเป็นที่มาให้เราต้องแก้ปัญหา
5.วิธีดำเนินการ
กำหนดกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ
1.ชื่อโครงการ
ชัดเจน บอกเล่าว่าใคร ทำอะไร ที่ใด
6.ระยะเวลาที่ดำเนินโครงการ
ระบุเวลาเริ่มทำและสิ้นสุดโครงการ
7.งบประมาณ
บอกแหล่งที่มาของงบประมาณ
จำนวนเงินงบประมาณ วัสดุ สิ่งสนับสนุน
8.การประเมินผล
ระบุวิธีประเมินผล
9.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ไม่อยู่ในวัตถุประสงค์ อาจเกิดหรือไม่เกิดก็ได้
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ
เป็นการระบุตัวบุคคลหรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการเสนอและดำเนินโครงการ
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน
2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน
3.การระบุปัญหา
และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
1.ชนิดของปัญหา
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
2.ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฏี
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง
1.การระบุปัญหา
5D : Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
ประเมินผลโครงการ
ต้องการข้อมูลที่บ่งชี้ว่าโครงการที่ดำเนินการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่
การประเมิน
ประสิทธิภาพ(Efficiency)
ความพอเพียง(Sufficiency)
ประสิทธิผล(Effectiveness)
ความเหมาะสม(Appropriateness)
ความเสมอภาค(Equality)
การปฏิบัติงาน
พอเพียง
นวัตกรรม วิจัยทางการพยาบาล
หัวใจความเป็นมนุษย์
สาธารณสุขมูลฐาน
การให้ความรู้และให้ชุมชนเข้มแข็ง