Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน - Coggle Diagram
บทที่ 6การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
ความหมายของภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
-เป็นภาวะที่บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านความคิด อารมณ์
-เป็นพฤติกรรมอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง
-อาจทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน
ลักษณะอาการและอาการแสดง
1.พฤติกรรมรุนแรง
มีความพยายามหรือลงมือกระทำการทำร้าย
มีการทำลายสิ่งของ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บุคคลหรือสิ่งของได้รับความเจ็บปวด
2.พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
ได้แก่
suicidal intention ความต้องการท่ีจะฆ่าตัวตาย
suicide committed suicide การฆ่าตัวตายสําเร็จ
suicidal ideation ความคิดอยากฆ่าตัวตาย ซึ่งระดับความรุนแรงจะแตกต่างกันไปตาม
ความรุนแรงของ suicidal intention
suicidal attempt การพยายามฆ่าตัวตาย
self-injurious or self-harm behavior พฤติกรรมที่ตั้งใจทําร้ายตนเองให้บาดเจ็บ เจ็บปวดหรือส่งผลทําลายร่างกายโดยไม่มี suicidal intention
3.ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง
ได้แก่
-อายุที่เร่ิมมีความผิดปกติทางจิตครั้งแรกมากกว่า 45 ปี
-อาการเริ่มต้นเป็นอย่างเฉียบพลัน
-ปวดศีรษะ ชีพจรเร็ว ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
-มีประวัติใช้สารเสพติด
-มีประสาทหลอนทางตาหรือทางผิหนังมากกว่าอาการประสาทหลอนทางหู
-มีประวัติอาการทางระบบประสาท หมดสติ ชัก อุบัติเหตุทางสมอง
4.กลุ่มอาการหายใจถี่
ได้แก่
การมีอาการขึ้นมาทันทีทันใด
หายใจลึกและเร็วเป็นเวลาหลายนาทีโดยที่ไม่รู้ตัว จากนั้นจะเริ่มมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม วิงเวียน ใจสั่น นิ้วมือจีบยืดเกร็ง (carpopedal spasm)
ชาบริเวณริมฝีปาก นิ้วมือ นิ้วเท้า ผู้ป่วยอาจอ่อนแรงและสุดท้ายอาจหมดสติได้
5.อาการแพนิค
-ผู้ป่วยจะมีอาการกลัวอย่างรุนแรง พร้อมกับอาการทางกายหลายอย่าง
6.อาการพิษจากสารเสพติดและอาการขาดสารอาหาร
สุรา จะทำให้มีพฤติกรรมก้าวร้าว การตัดสินใจเสีย
ฝิ่น อาการจากพิษคือ อารมณ์ร่าเริ่งในระยะแรก รู้สึกไม่สบายพลุ่งพล่าน
สาเหตุของภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
1.พฤติกรรมรุนแรง
-พฤติกรรมรุนแรงสาเหตุจากโรคทางจิต
-พฤติกรรมรุนแรงที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางกาย
2.พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
-โรคทางจิตเนื่องจากการปรับตัว
-โรคซึมเศร้า
-โรคจิตเภท
ติดสุราหรือยาเสพติด
-บุคลิกภาพผิดปกติ
3.ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง
-Central nervous system disorder
-metabolic disorder
-endocrinopathy
การบำบัดรักษาของภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
1.พฤติกรรมรุนแรง
การป้องกันการเกิดพฤติกรรมรุนแรง
การควบคุมพฤติกรรมรุนแรง
การประเมินและการวางแผนการดูแลต่อเนื่อง
2.พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
การรักษาทางกายเป็นอันดับแรก
การป้องกันและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายซ้ำ
การประเมินและการวางแผนการดูแลอย่างต่อเนื่อง
3.ภาวะสับสนเพ้อคลั่ง
-การบำบัดด้วยยา
-การบำบัดด้านสิ่งแวดล้อม
-การประเมินและการวางแผนการดูแลต่อเนื่อง
4.กลุ่มอาการหายใจถี่
-ให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
-อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงอาการและความรู้สึกที่จะเกิดขึ้น
-ช่วยให้ผู้ป่วยสงบและผ่อนคลาย
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะจิตเวชฉุกเฉิน
-การจำแนกผู้ป่วย
-ให้การพยาบาลบำบัดดูแลระยะแรก
-การประเมินและบำบัดต่อเนื่อง
-การจำหน่ายหรือส่งต่อผู้ป่วยไปยังหน่วยบำบัดอื่น