Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มี ความผิดปกติทางด้านอารมณ์, น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา…
การพยาบาลบุคคลที่มี
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Bipolar Disorder
มีอาการ Manic Episode หรือ Hypomanic episode สลับกับ Depressive Episode
Cyclothymic=4 Episode/year=Chronic
Manic+Depressive= Bipolar I
Hypomanic+Depressive= Bipolar II
อาการ
Emotion
สนุกสนานเกินจริง
มีควาสมุขมาก
คึก
Cognitive
Flight of Idea
คิดว่าตนเองรวย
Behavioral
Active
Talkative
การรักษา
Psychotherapy
Admit
Litium
การพยาบาล
Low Self-esteem
ยาและดูแลผลข้างเคียงของยา
เสริมแรงทางบวกตามจริง
ประเมินการรับรู้
ฝึกคิดบวก
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
Ineffective individual coping
ประเมินความเครียด สาเหตุ
กระตุ้นให้มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
เปิดโอกาสให้ระบาย
ช่วยดูแลกิจวัตรประจำวัน
Hypomanic Episode
อาการ
Behavioral
พูดมาก หื่น ใช้เงินเปลือง
Emotional
อารมณ์ดี อารมณ์เปลี่ยนแปลง
Cognitive
คิดว่าตนเองยิ่งใหญ่ ถูกกระตุ้นได้ง่าย
การวินิจฉัย
อารมณ์แปรเปลี่ยนอย่างน้อย 4 วันไม่ใช่ผลจากยา มีอาการนี้อย่างน้อย 3 อาการ
อยู่ไม่นิ่ง
ถูกหันเหได้ง่าย (Distractibility)
พูดมาก (Pressured of Speed)
โอ้อวด หลงตัวเอง (Inflated Self-Esteem/Grandiosity)
นอนน้อย (Decreased Need of Sleep)
Flight of Idea
ทำกิจกรรมมากขึ้น
Manic Episode
อาการตัวข้างบน
การวินิจฉัย
ในผู้ใหญ่ เริงร่ามากกว่า1wk + อาการนี้อย่างน้อย 3
ในเด็กและวัยรุ่น แปรปวน + อาการนี้อย่าง 4
อยู่ไม่นิ่ง
ถูกหันเหได้ง่าย (Distractibility)
พูดมาก (Pressured of Speed)
โอ้อวด หลงตัวเอง (Inflated Self-Esteem/Grandiosity)
นอนน้อย (Decreased Need of Sleep)
Flight of Idea
ทำกิจกรรมมากขึ้น
Depressive Episode
อาการ
ร้องไห้ คร่ำครวญ วิตกกังวล บ่นเรื่องความเจ็บป่วย
การวินิจฉัย
เศ้ราครั้งแรกหรืออาการแย่ลงติดต่อกัน 2 wk กระทบชีวิต มีอาการนี้อย่างน้อย 4
เบื่ออาหารหรือกินจุ
นอนไม่หลับหรือนอนมาก
อ่อนเพลีย
มีความคิดเกี่ยวกับความตาย กลัวตาย อยากตาย
สมาธิลดลง
น้ำหนักตัวเปลี่ยน(ขึ้นหรือลง) 5%ใน1เดือน
รู้สึกผิด Guilt
เศร้าทั้งวัน
ความสนใจความสนุกลดลง
อาการไม่ได้เกิดจากยา
Depressive Disorder
Major Depressive Disorders (MDD)
ลักษณะเด่น : ซึมเศร้า เบื่อหน่าย หมดความสนใจกับสิ่งรอบตัว ไม่มีสมาธิ รู้สึกไร้ค่า อยากตาย อย่างน้อย 2 สัปดาห์ร่วมกับเบื่ออาหาร นอนไม่หลับ หรือหลับมากกว่าปกติ
กลไกทางจิต
Repression: เก็บกด ไม่พูด
Introjection: โทษตัวเอง
การพยาบาล
Hopelessness
ประเมินสิ่งยึดเหนี่ยว
ประเมินสาเหตุ
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ให้กำลังใจ ฝึกคิดบวก
Cognitive Behavior Theraoy
ได้รับสารอาหารไม่พอเนื่องจากเบื่ออาหาร
แบบแผนการนอนแปรปวนเนื่องจากอารมณ์เศร้า
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากรู้สึกไร้ค่า
กระบวนการคิดแปรปวรเนื่องจากอารมณ์เศร้า
ความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ
การดูแลตนเองบกพร่องเนื่องจากสนใจทำกิจวัตรประจำวันลดลง
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากรู้สึกไร้ค่าและหมดหวัง
Risk for Suicide
ให้คำแนะนำแก่ญาติ
เข้ากลุ่มแบบประคับประคอง
ยา
จัดให้ใกล้เคาน์เตอร์พยาบาล
ให้กำลังใจ ฝึกการคิดบวก
ประเมินระดับ
อดทน รับฟัง
ประเมินสาเหตุ
ประเมินอาการ
การวินิจฉัย
มีอาาร 5 อย่างขึ้นไปติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์และมีอาการนี้อย่างน้อย 1 อย่าง ได้แก่ เศร้า หรือ หมดความสนใจความสุขในกิจกรรม
นอนไม่หลับหรือมากกว่าปกติ
อารมณ์เศร้า ในเด็ก/วัยรุ่นอาจหงุดหงิด
หมดความสุขความสนใจในกิจกรรม
เชื่องช้า
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
รู้สึกไร้ค่าหรือผิดมากกว่าปกติ
อารมณ์เสีย
อยากตาย
อาการทำให้ทุกข์ใจ
ไม่ใช่อาการเศร้าเสียใจธรรมดา
อาการไม่เข้าเกณฑ์อาการแบบผสม
ไม่ได้เกิดจากโรคทางกายหรือยา
การรักษา
Acute: ใช้ยา รักษาด้านจิตใจและสังคม 6-8 wk
Continuation: ป้องกันการเป็นซ้ำ ให้ยาเดิม F/U 16-20 wk
Maintain: ป้องกันการเป็นซ้ำ
Discontinuation: หยุดยาโดยค่อยๆลดลง ถ้าผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำให้เริ่มรักษาใหม่
Mild: เบื่อหน่ายเล็กน้อย หดหู่ เศร้า แต่ยังสามารถดำเนินชีวิตได้
ประเมินความรุนแรง
Mild: เบื่อหน่ายเล็กน้อย หดหู่ เศร้า แต่ยังสามารถดำเนินชีวิตได้
Moderate: ซึม พูดน้อยลง คิดช้า วิตกกังวล ร่างกายอ่อนแอลง กระทบชีวิตประจำวัน
Severe: สนใจสิ่งแวดล้อมลดลง Agitate ใช้ชีวิตประจำวันไม่ได้ ประสาทหลอน ทำร้ายตนเอง
ระยะการรักษา
Dysthymic Disorder = Moderate Depression เรื้อรัง
อาการ
ทางกาย
เบื่ออาหารหรือทานมาก นอนไม่หลับหรือหลับมาก อ่อนเพลีย สดชื่นตอนเช้าหงอยช่วงบ่าย ผู้หญิงประจำเดือนขาด
ทางความคิด
เบื่อหน่าย ท้อแท้ ความภูมิใจในตนเองต่ำ ไม่สนุก หงุดหงิด โกรธง่าย
ทางอารมณ์
คิดช้า คิดซ้ำ คิดไม่ดี ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
ทางพฤติกรรม
เหนื่อยเรื้อรัง อ่อนเพลีย เชื่อว่าตนเองป่วยทางกาย พยายามจะไปหาหมอ
การวินิจฉัย
มีอารมณ์เศร้าเกือบทั้งวัน(หงุดหงิดในเด็กและวัยรุ่น)และมีวันเศร้ามากกว่าใน2ปี(1ปีในเด็กและวัยรุ่น)ในวันเศร้าต้องมีอาการนี้อย่างน้อย2อาการ
สิ้นหวัง
เบื่ออาหารหรือกินจุ
นอนไม่หลับหรือหลับมาก
อ่อนเพลีย รู้สึกไร้ค่า
ไม่มีสมาธิ ตัดสินใจไม่ได้
วันไม่เศร้าไม่เกิน 30 วันติดกัน
ไม่เคยมีความผิดปกติ
Mania Episode
Mixed Episode
Hypomanic Episode
Cyclothymia Disorder
น.ส.เปมิกา เพิ่มชีวา รหัส180101126