Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือต…
บทที่ 6
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือตั้งแต่แรกเกิด
ความหมาย
ความผิดปกติของทารกที่เกิดขึ้นในครรภ์มารดา
ความผิดปกติของส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของร่างกาย ซึ่งเป็นผลมาจากการเจริญผิดปกติของ
ทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ร้อยละ 20-30 เสียชีวิตในวัยทารก
มีสาเหตุจากความพิการแต่กำเนิด
ในประเทศไทย พบ 24,000-40,000 รายต่อปี
“วันทารกและเด็กพิการแต่กำเนิดโลก”
คือ วันที่ 3 มีนาคม ของทุกปี
ความพิการแต่กำเนิด
จำแนกตามกลไกการเกิด
1.Malformation
คือ
อวัยวะผิดรูปร่าง
เกิดจากพัฒนาภายในผิดปกติ
อาจเกิดจากพันธุกรรมหรือสิ่งแวดล้อม
เช่น
ปากแหว่ง (cleft-lip)
เพดานโหว่(cleft -palate)
Deformation
คือ
เกิดจากแรงกระทำภายนอก
เช่น
มีภาวะถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างตั้งครรภ์ทำให้เกิด oligohydramnios sequence ทารกที่อยู่ในน้ำคร่ำน้อย ทำให้เกิดภาวะผิดรูปของแขนขา
Disruption
คือ
ภาวะที่โครงสร้างหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
จากสาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการเจริญพัฒนาอวัยวะ
Dysplasia
เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อ
พบในทุกส่วนของร่างกาย
เช่นกลุ่มโรค skeletal dysplasia
กลุ่มอาการที่พบบ่อย ได้แก่
กลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome)
โรคหลอดประสาทไม่ปิด Neural Tube Defect )
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่
(Cleft Lip and Cleft Palate)
อาการ
ดูดกลืนผิดปกติ
สำลัก
พูดไม่ชัด
หายใจลำบาก
การพยาบาล
ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน
ให้นมโดยใช้ช้อน
สังเกตอาการแผลเลือดออก
หากเด็กร้องไห้ต้องปลอบให้เร็ว
*
สามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ 13-14 สัปดาห์ ด้วย ultrasound
แขนขาพิการแต่กำเนิด(Limb Anomalies)
โรคกล้ามเนื้อเสื่อมพันธุกรรม
(Duchenne Muscular Dystrophy)
สาเหตุความพิการแต่กำเนิด
พันธุกรรม
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
มารดามีอายุมากเกินไป (35 ปีขึ้นไป)
โรคติดเชื้อ
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม และได้รับรังสี
TE (Tracheoesophareal fistule)
หมายถึง
การมีรูติดต่อระหว่างหลอดลมและหลอดอาหาร
อาการ
1.มีน้ำลายมาก ไอ เมื่อดูดเอาออกทิ้ง จะมีขึ้นมาอีกในเวลาไม่นาน
2.สำลักง่าย เมื่อให้ดูดน้ำ ทารกจะสำรอกทันที
3.ท้องอืด หายใจลำบาก เขียว อาจหยุดหายใจ
4.มักมีปอดอักเสบร่วมด้วยเสมอ
การวินิจฉัย
มักพบในทารกที่เกิดจากมารดาที่มี polyhydramnios
ใส่ N – G tube ลงไปได้ไม่ตลอด
X – ray พบลมในกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัดแก้ไขหลอดอาหาร
จัดท่านอนเหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
0n NG tube ต่อ Continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้สารน้ำหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ให้สารอาหาร นม น้ำทาง Gastrostomy tube
หลังผ่าตัด
ห้ามใส่สาย NG tube หรือสาย suction
ดูดเสมหะในคอและไม่ควรนอนเหยียดคอ
กระตุ้นให้เด็กร้องบ่อยๆ
ดูแลให้การทำงานของ ICD มีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ , Antibioticตามแผนการรักษา
Omphalocele/gastroschisis
เกิดจากความบกพร่องของผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ช่องท้องไม่ปิด
อัตราการตายสูง (ร้อยละ 80)
การวินิจฉัย/อาการ
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากไม่มีหนังหน้าท้อง ทำให้สิ่งสกปรกเข้าไปได้
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น
การรักษาโดยผ่าตัด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก
ดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง แล้วเย็บปิดผนังหน้าท้องโดยและเย็บปิด
fascia แล้วเย็บปิดผิวหนังอีกชั้นหนึ่ง
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer
พยายามปั้นประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้ง ใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไว้ไม่ให้ล้มพับ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้ systemic antibiotics
หลังการผ่าตัด
รักษาโดยเครื่องช่วยหายใจ 24-48 ชม.
ดูแลให้สารอาหารตามแผนรักษาอย่างต่อเนื่อง
ติดตามการทำงานของลำไส้ ฟัง bowl sound
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome
Abdominal compartment syndrome
ลักษณะ
ท้องอืดอย่างรุนแรง
ปัสสาวะออกน้อยลง
central venous pressure สูงขึ้น
ความดันในช่องอกสูงขึ้น
ความดันในช่องท้องสูงขึ้น > 20 mmHg
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม
จัดท่าผู้ป่วยนอนราบ
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและลำไส้ใหญ่
ให้ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการทำงานลำไส้
ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย
ใส่สายระบายในช่องท้อง
Imperforate anus
ไม่มีรูทวาร
อาการ
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
แน่นท้อง ท้องอืด
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
การรักษา
การผ่าตัด anal membrane ออก
ในรายมี่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
ให้ความรู้บิดา มารดา เรื่องการดำเนินโรค
สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวารหนัก
ให้ยาแก้ปวดก่อน
ถ่างขยาย
ใช้สารหล่อลื่น
เลือกขนาดเครื่องมือตามแผนการรักษา
สังเกตการมีเลือดออก การอักเสบ
ถ้าอักเสบให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
แนะนำให้เด็กทานอาหารกากใยสูง
น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก เลขที่ 91 ปี 2 รุ่น 37
รหัสนักศึกษา 62111301094