Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.13 การพยาบาลบุคคลที่มีโรคจิตเภท - Coggle Diagram
5.13
การพยาบาลบุคคลที่มีโรคจิตเภท
เป็นโรคจิตที่พบได้มากในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาทางจิตเวชและสุขภาพจิตชัดในช่วงวัยรุ่นถึง
ผู้ใหญ่ตอนต้น พบมากในผู้ที่มีเศษฐานะต่ำ
ลักษณะอาการ
จำแนกโรคของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน
(DSM -5 )
A.มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 อาการ
ในช่วงเวลา 1 เดือน
หลงผิด (delusion)
2.ประสาทหลอน(hallucination)
3.ความผิดปกติของการพูด (disorganized speech)
4.ความผิดปกติของพฤติกรรม(disorganized behavior)
5.อาการด้านลบ (negative symptom)
B. มีปัญหาด้านการเข้าสังคม การงาน สัมพันธภาพ หรือสุขอนามัยของตนเอง
C.มีอาการผิดปกติต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
ซึ่งต้องมีอาการในข้อ A อย่างน้อย 1 เดือน
D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค Schizoaffective disorder หรือโรคในกลุ่มซึมเศร้าหรือ Bipolar disorder ที่มี
อาการทางจิตร่วมด้วย
E. อาการไม่ได้เกิดจากยาหรือสารเสพติดหรือโรคทางกาย
F. หากมีประวัติของโรค Autism spectrum disorder หรือ Communication disorder ที่เป็นในวัยเด็ก
จากคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทสำหรับ
พยาบาล
รพท./รพช.
Positive symptoms
Negative symptoms
อาการ 4 A’s
Associative disturbance
ความคิดไม่ต่อเนื่องกันขาดความเชื่อมโยงของความคิด
Affective disturbance
การแสดงอารมณ์ที่ไม่สอดคล้องกับเรื่องที่พูด
Autistic thinking
อยู่ในโลกของตัวเอง คิดหมกมุ่น ไม่อยู่ในโลกของความจริง
Ambivalence
ลังเลใจ ตัดสินใจไม่เด็ดขาดคิดกลับไปกลับมา
สาเหตุของโรคจิตเภท
ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม
สารชีวเคมีในสมอง
กายภาพของสมองที่ผิดปกติ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
กระบวนการพัฒนาการและสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ความเครียด
สภาพสังคมและวัฒนธรรม
การบำบัดรักษา
1.การรักษาแบบผู้ป่วยใน
ควรกระทำเมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรม/อาการที่ไม่สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้
เป็นอันตรายต่อตนเองและบุคคลอื่นหรือสังคม
มีอาการข้างเคียงของยาอย่างรุนแรงที่ต้องดูแลใกล้ชิด
ไม่ร่วมมือในการรักษา ไม่ยอมกินยา
ไม่สามารถดูแลตัวเองได้
มีพฤติกรรมวุ่นวายอย่างมาก
มีอาการของโรคทางกายที่ต้องควบคุมการรักษา
มีอาการทางจิตรุนแรงมาก
มีปัญหาในการวินิจฉัยโรค
2.การรักษาด้วยยา
การรักษาแบ่งเป็ น 3 ระยะ
1) ระยะเฉียบพลัน(acute phase)
ช่วยลดอาการทางจิตของผู้ป่ วยและค านึงถึงความปลอดภัย
2) ระยะควบคุมอาการให้คงที่ (stabilization phase)
ควบคุมอาการและลดโอกาสที่อาการจะรุนแรงขึ้น
3) ระยะคงที่ (maintainance phase)
ป้องกันการกำเริบและส่งเสริมการฟื้นฟู
3.การรักษาด้วยไฟฟ้า (ECT)
การรักษาทางจิตใจและสังคม
กระบวนการพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
สภาพทั่วไป ลักษณะของผู้ป่วย
อารมณ์ ลักษณะการแสดงอารมณ์
การพูดสื่อสาร การตอบคำถาม
เนื้อหาความคิด หลงผิดเป็นเรื่องที่ไม่เป็นจริง
การรับรู้ความเป็นจริง
การตระหนักต่อความเจ็บป่วยของตนเอง
การวินิจฉัยการพยาบาล
ความคิดและการรับรู้ผิดปกติเนื่องจากสารเคมีในสมองไม่สมดุล
มีแนวโน้มเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นเนื่องจาก
หลงผิดว่ามีคนคอยทำร้าย
สัมพันธภาพบกพร่องเนื่องจากแยกตัวเองและไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
บกพร่องในการดูแลกิจวัตรประจำวันเนื่องจาก
หมกมุ่นอยู่ในโลกส่วนตัว
อาการเป็นซ้ำเนื่องจากปฏิเสธการรักษาและ
รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง
การปฏิบัติการพยาบาล
ความคิดผิดปกติ
การรับรู้ผิดปกติ(ประสาทหลอน)
การสื่อสารบกพร่อง
ผู้ป่วยจิตเภทที่มีอาการหวาดระแวง
การประเมินผลทางการพยาบาล