Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต - Coggle Diagram
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤต
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด
1) สถานการณ์วิกฤต (situational crisis) เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้า
2) พัฒนาการวิกฤตหรือวัยวิกฤต (maturation Crisis)ที่เด็กต้องพลัดพรากจากผู้ปกครองไปเข้าโรงเรียน
3) ภาวะวิกฤตที่เกิดจากภัยพิบัติ(disaster crisis)
เช่น ไฟไหม้บ้าน อุทกภัย แผ่นดินไหว ซึนามิการเกิดสงคราม
ลักษณะอาการและอาการแสดงของบุคคลที่มีภาวะวิกฤต “ระยะวิกฤต (crisis stage)” ซึ่งแบ่งย่อยๆได้เป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 1 เป็นระยะที่บุคคลที่อยู่ในระยะวิกฤต (crisis stage) มีความเครียด (stress) ความวิตกกังวล
(anxiety)
สับสน สมาธิลดลง การตัดสินใจเสีย
มีอาการทางกาย เช่น เจ็บหน้าอก ปากแห้ง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่ออก วิงเวียน
รู้สึกผิดและละอาย (guilt and shame)
รู้สึกโกรธ (anger)
ระยะที่ 2 ระยะฉุกเฉิน เช่น การลองผิดลองถูก (trial and error attempts)
รู้สึกขาดที่พึ่งและหนดหนทาง (helplessness)
รู้สึกลังเล (ambivalence)
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่บุคคลซึ่งอยู่ในภาวะที่อ่อนไหว (vulnerable state)
ระยะที่4 เป็นระยะที่บุคคลไม่สามารถรับความตึงเครียดวิตกกังวล (stress and anxiety)
สาเหตุการเกิดภาวะวิกฤตของบุคคล
1) เหตุการณ์วิกฤต (Negative Events)
2) การรับรู้ต่อเหตุการณ์วิกฤต บุคคลเห็นว่าเหตุการณ์วิกฤตนั้นเป็น สิ่งคุกคาม (threat)
3) การแก้ไขปัญหา
การแก้ปัญหาแบบมุ่งเน้นการแก้ปัญหา (problem focus coping) พยายามแก้ไขปัญหาให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น มุ่งแก้ไขที่ตนเองหรือปรับสิ่งแวดล้อม
การแก้ปัญหาแบบมุ่งเน้นอารมณ์(emotion focus coping) บุคคลพยายามจัดการอารมณ์และความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากปัญหา เช่น การใช้กลไกป้องกันทางจิต แบบปฏิเสธ หลีกหนีหรือพยายามไม่คิดลืมสิ่งที่เกิดขึ้น