Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไม้ (WOOD) - Coggle Diagram
ไม้ (WOOD)
-
-
ประเภทของไม้
ไม้เนื้อแข็งปานกลาง
ไม้ยาง
-ไม้สูงชะลูด ไม่มีกิ่งที่ลำต้น พบที่ป่าดิบชื้น บริเวณใกล้แม่น้ำลำธารในป่าดิบ
-เนื้อไม้สีแดงเรื่อยๆ หรือสีน้ำตาลหม่น เสี้ยนตรง เนื้อหยาบ แข็งปานกลาง ้ในร่มจะทนทานได้ดี เลื่อยไสตกแต่งได้ดี
-ใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น ไม้ฝา ฝ้าเพดาน
ไม้กระบากหรือไม้กะบาก
-ต้นสูงใหญ่ ขึ้นปะปรายในป่าดิบชื้นและป่าเบญจพรรณชื้นทั่วประเทศ
-มีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนตรง เนื้อหยาบสม่ำเสมอ แข็ง เหนียว เลื่อยไสตกแต่งได้ยาก
-ใช้สำหรับทำหล่อคอนกรีต เพราะถูกน้ำแล้วไม่บิดงอโค้ง ทำเครื่องเรือนราคาถูก ทำกล่องใส่ของ เก้าอี้
-ข้อเสีย เนื้อเป็นทราย กดคมเครื่องมือ
ไม้ฉำฉา
-ไม้เนื้อหยาบไม่แน่น มีสีค่อนข้างจาง(ขาว) ลวดลายสวยงาม น้ำหนักเบา ทำการเลื่อย ผ่า ไสกบ ตกแต่งชักเงาได้ง่าย
-ใช้ทำลัง กล่องใส่วัสดุอุปกรณ์ เครื่องเรือนต่างๆ
ไม้เนื้ออ่อน
ไม้สยาขาว
-ต้นไม้ขนาดใหญ่ขึ้นตามไหล่เขา
-เนื้อไม้ชมพูอ่อนแกมขาว ถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้นเป็นมันเลื่อมเสี้ยนสับสน เนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว ทนทานในร่ม เลื่อยไส ผ่าได้ง่าย
-ใช้ทำเครื่องเรือน และส่วนของอาคารที่อยู่ในร่ม เปลือกไม้ทำไม้อัดได้
ไม้ก้านเหลือง
-ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นตามริมแม่น้ำลำธาร หรือที่ชุ่มชื้นทั่วไป
- เนื้อไม้สีเหลืองเข้ม ถึงสีเหลืองปนแสด เสี้ยนตรงละเอียดพอประมาณและอ่อน เลื่อยไสกบได้ง่าย
-ใช้ทำพื้น ฝา เครื่องเรือน หีบใส่ของ
ไม้เนื้อแข็ง
ไม้แดง
-ไม้ขนาดใหญ่ พบในป่าเบญจพรรณแล้งและชื้น
-เนื้อไม้มีสีน้ำตาลอมแดง เสี้ยนเป็นลูกคลื่นหรือสับสน เนื้อละเอียด แข็งเหนียวแข็งแรงทนทาน เลื่อยไสตกแต่งได้เรียบร้อยขัดเงาได้ดี
-นิยมทำพื้นวงกบประตูหน้าต่าง ทำเกวียน
-ไม้ต้านไฟภายในตัว ปลวกแะเพรียงไม่ค่อยรบกวน
ไม้ตะเคียนทอง
-ไม้ใหญ่และสูงมาก พบตามป่าดิบชื้นทั่วไป
-เนื้อไม้สีเหลืองหม่น สีน้ำตาลอมเหลือง มักมีสีขาวหรือเมาขาวผ่านเสมอ เป็นท่อน้ำมันหรือยาง เสี้ยนสับสน เนื้อละเอียด แข็งเหนียว ทนทาน ทนปลวกได้ดี
-ใช้ในการก่อส้างอาคาร
-นิยมใช้ทำเรือ
ไม้รัง
-ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ขึ้นตามป่าแดดทั่วไป
-เนื้อไม้สีน้ำตาลอมเหลือง เสี้ยนสับสน เหนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ แข็งหนัก แข็งแรงและทนทาน เลื่อยไสกบตกแต่งค่อนข้างยาก ปห้งแล้วจะมีคุณสมบัติคล้ายไม้เต็ง อาจเรียกไม้เต็งรัง
-ทำเสาและโครงสร้างอาคารต่างๆ หมอนรางรถไฟ ทำเครื่องมือกสิกรรม
ไม้ตะแบก
-ไม้สูงและใหญ่ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ชื้นและแล้ง
-เนื้อไม้สีเทา จนถึงสีน้ำตาลอมเทา เสี้ยนตรงหรือเกือบตรง เนื้อละเอียดปานกลางเป็นมัน แข็งเหนียว แข็งแรงทนทานดี
-ใช้ทำเสาบ้าน ทำเรือ แพ เกวียน
-ไม้ตะแบกชนิดลายใช้ทำเครื่องเรือนได้สวยงาม
ไม้เต็ง
-ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ขึ้นตามป่าแดดทั่วไป -เนื้อไม้มีสีน้ำตาลอ่อนแก่แกมแดง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบสม่ำเสมอ แข็งเหนียว แห้งแล้วเลื่อยไสตกแต่งยาก
-ใช้ทำเสา หมอนวางรางรถไฟ วงกบประตูหน้าต่าง โครงหลังคา
ไม้สัก
-ไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณภาคเหนือและบางส่วนของภาคกลางและภาคตะวันตก
-เนื้อไม้สีเหลืองทอง นานเข้าจะกลายเป็นสีน้ำตาลหรือน้ำตาลแก่ มีกลิ่นเหมือนหนังฟอกเก่าๆ และมีน้ำมันในตัวมักมีเส้นสีแก่แทรก เสี้ยนตรงเนื้อหยาบไม่สม่ำเสมอ แข็งแรงทนทานสุด ปลวกมอดทำอะไรไม่ได้ ผึ่งไม้ให้แห้งง่าย
หลักการใช้งาน
-
-
-
-
เป็นไม้ที่กดตัวแล้ว คือเป็นไม้ที่ผึ่งแห้งอยู่ตัวดีแล้ว เมื่อนำมาปรพกอบสำเร็จรูป จะไม่เกิดอ้าออกจากกันหรือบิดโค้งเสียความงาม
ไม้ที่เป็นรอยผุ ด่างหรือเน่าเปื่อย ทดลองโดยใช้ค้อนเคาะ ไม้ดีจะมีเสียงแน่นแกร่ง ถ้าไม้ผุเสีย เปราะ ไม่เหนียว จะมีเสียงดังผลุๆ เลื่อยไม่ติดคลองเลื่อย
ไม้ได้จากแก่นไม้ที่สมบูรณ์ คือ จากต้นไม้ที่เจริญเตบโตเต็มที่เหมาะสมกับสภาพดิน ฟ้าอากาศ ของถิ่นนั้นๆ ไม้ที่ตายยืนต้น
-
-