Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พื้นฐานทางเภสัชวิทยา, นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต 6305010136 -…
พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ความหมายของเภสัชวิทยา
Pharmakon (ยา) + Logos (การศึกษา)
การค้นพบยา
แหล่งที่มาของยา
คุณสมบัติทั้งทางกายภาพทางเคมี
ผลของยาต่อร่างกายทางชีววิทยาและสรีรวิทยา
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
การดูดซึม
การกระจาย
การเปลี่ยนแปลงยาในร่างกาย
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย
การศึกษาทางเภสัชวิทยา(Pharmacology)
เภสัชจลนศาสตร์(Pharmacokinetics)
กระบวนการทางสรีรวิทยาของร่างกายที่กระทำต่อยา
เภสัชพลศาสตร์(Pharmacodynamics)
การ กระทำหรือฤทธิ์ของยาที่กระทำต่อร่างกาย
ความหมายของยา (Drug)
เกิดผลในการรักษาหรือป้องกันโรค
Medicine
ผลเสียต่อร่างกายเพียงอย่างเดียว
Poison
ใช้การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย หรือทำให้เกิดการเปลี ของขบวนการทางพิษวิทยา
ยารักษาโรคสามารถก่อให้เกิดผลข้างเคียงหรือเกิดพิษต่อร่างกาย
ประเภทของยา
แบ่งตามการผลิตยา
ยาสาเร็จรูป
บริษัทต่างๆได้ผลิตขึ้น
ยาผสม
ยาที่แพทย์สั่งให้เภสัชกรผสม
พ.ร.บ.ควบคุมยา
ยาสามัญประจำบ้าน
ซื้อตามร้านขาย โดยไม่ต้องมีใบสั่งยาของแพทย์
ยาอันตราย
กระทรวงสาธารณสุขจกำหนดให้เป็นยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
ยาที่มีอันตรายมาก
บางชนิดเป็นยาเสพติด
ใช้ยายนานจะทำให้เกิดติดยา
ขอบเขตและความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพในการบริหารยา
การรับคำสั่งยา
Cross Check (ตรวจสอบระหว่างวิชาชีพ)
Double Check (ตรวจสอบวิชาชีพเดียวกัน)
Recheck (ตรวจสอบโดยบุคคลเดียวกัน)
บริหารยาอย่างถูกต้องตามหลักการ
ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
วิธีการบริหารยา
การสูดดมหรือการพ่น(Inhalation)
การฉีดเข้าหลอดเลือดด้า(Intravenous administration; IV)
การใช้ยาเฉพาะที่
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ(Intramuscular injection; IM)
การเหน็บหรือสวนทวาร(Rectal administration)
การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง(Subcutaneus administration; SC)
การอมใต้ลิ้น(Sublingual administration)
Intra-arterial injection; Ia
การให้ยาโดยวิธีรับประทาน(Oral ingestion)
Intrathecal injection; IT
การเสื่อมสภาพของยา
ยาแต่ละชนิดมีอายุการใช้งานที่แตกต่างกัน
ถ้าไม่ระบุไว้ในฉลากยา ให้ดูจากวันที่ผลิต ยาเม็ดไม่ควรเก็บไว5ปี
วิธีป้องกันรักษาคุณภาพยา
ตู้ที่เก็บยาควรเป็นบริเวณที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่ถูกแสง อยู่ในที่ชื้น
ยาที่หมดอายุแล้วควรทิ้งไปไม่ควรเก็บไว้
ไม่ควรเก็บยาต่างชนิดกันไว้ในซองเดียวกัน
ยาผงปฏิชีวนะชนิดผสมน้ำแล้วใช้ทันที
ฉลากยาไม่ควรฉีดขาดหรือทำหลุดหาย
ยาหยอดตาเปิดแล้วไม่ควรใช้ต่อเกิน2สัปดาห์
เมื่อใช้ยาแล้วต้องปิดให้สนิทเพื่อป้องกันความชื้น
ยาทุกชนิดควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
หมั่นตรวจสอบวันหมดอายุของยาสม่ำเสมอ
ยาที่ต้องเก็บให้พ้นแสง
ควรเก็บยาตามฉลากที่แนะนำ
ยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น(2-8องศาเซลเซียส)
ยาที่เก็บไว้ในขวดสีชาควรเก็บไว้ในขวดอย่างเดิม
ฉลากยา
เลขทะเบียนตำรับยา
ปริมาณหรือขนาดบรรจุของยา
ชื่อยา(ชื่อการค้า)
เลขที่ หรืออักษรแสดงครั้งที่ผลิตหรือวิเคราะห์
ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต
วันเดือนปีที่ผลิตยา
คำว่า“ยาอันตราย” “ยาควบคุมพิเศษ” “ยาใช้เฉพาะที่” “ยาใช้ ภายนอก” เขียนด้วยอักษรสีแดงอ่านได้ชัดเจน
วิธีใช้และคำเตือน
บัญชียาหลักแห่งชาติ
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
รายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสำหรับโรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข
บัญชีจากสมุนไพร
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
รูปแบบของยา
ยาเม็ด(Tablet)
ยาเม็ดเคลือบ
ยาเม็ดอมใต้ลิ้น
ยาเม็ดไม่เคลือบ
ยาเม็ดสำหรับเคี้ยวเพื่อให้ออกฤทธิ์ได้เร็ว
ประกอบด้วยผงยาแห้ง
ยาแคปซูล(Capsule)
วัตถุประสงค์เพื่อกลบกลิ่นและรสของยา
ข้อดีของยาแคปซูล คือ กลืนง่าย และการดูดซึมยาได้ดี
ยาแคปซูลมี2 ประเภท
แคปซูลเปลือกนิ่ม
แคปซูลเปลือกแข็ง
เป็นยาที่มีแคปซูลหรือปลอกหุ้มยา
ยาผง ยาผงฟองฟู่ และยาเม็ดฟองฟู่
ยาเม็ดฟองฟู่
ยาผงฟองฟู่
ยาผง (Powder)
ยาอม (Lozenge)
มีกลิ่นและรสน่ารับประทาน
เป็นยาฆ่าเชื้อที่ทำให้ชุ่มคอ
ยาน้้าเชื่อม(Syrup)
มีรสหวาน มีการแต่งกลิ่น สี และรส
เพื่อรับประทานง่าย
ตัวยาอยู่ในน้ าเชื่อม ม
ยาที่ผสมแอลกอฮอล์
ยาที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ในปริมาณที่แตกต่างกัน
Tincture เป็นสารสกัดหรือสารละลาย
Elixir ผสมแอลกอฮอล์4-40% ใช้รับประทาน
Spirit หรือ ของเหลวผลกลั่น เ
ยาน้้าแขวนตะกอน(Suspension)
ยาน้ าที่มีสารช่วยในการแขวนตะกอน
Lotion ยาแขวนตะกอนที่ใช้ภายนอก
Emulsion ยาที่มีน้ำมันผสมอยู่
Mixture ยาผสม
Magma and Milk ยาแขวนตะกอนลักษณะคล้ายกับเจล
Gels สารที่ใช้แขวนตะกอนมีขนาดเล็ก
Liniment ยาถูนวด ใช้ภายนอก
ยาน้้าใส(Solution)
ยาน้ำที่มีตัวยาละลายได้ดีในน้ำ
ยาหยอดตา
ยา น้ำยาล้างตา
ยาหยอดหู
น้ำยาบ้วนปาก
ยาฉีด
ยาเหน็บ(Suppositories)
ยาพ่น(Spray)
ยาครีม(Cream)
ยาป้าย(Paints)
ยาดม (Inhalant)
ยาขี้ผึ้ง(Ointment)
การเรียกชื่อยา
ชื่อทางเคมี(Chemical Name)
ชื่อสามัญทางยา(Generic Name)
ชื่อทางการค้า(Trade name)
หลักการใช้ยา(5R)
Right does
Right route
Right drug
Right patient
Right time
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
แหล่งที่มาของยา
ยาที่ได้จากธรรมชาติ
ยาที่ได้จากสัตว์
Insulin
ตับอ่อนหมู หรือวัวที่แข็งแรง
Heparin
สกัดจากปอดวัวและเยื่อบุลำไส้หมู
เอนไซม์
Pancreatin
ตับอ่อนหมู
สารปรับการ ทำงานของเซลล์ประสาท
สารสื่อกลาง
สารสื่อประสาท
เป็นยาประเภท ฮอร์โมน
ยาที่ได้จากจุลินทรีย์
ยาส่วนใหญ่เป็นยาปฏิชีวนะ
Penicillin
ยาต้านจุลชีพ
ยาที่ได้จากพืช
ลักษณะเป็นสารบริสุทธิ์
Plaunotal
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
Vinblastine
ยารักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่อมน้้าเหลือง
Vincristine
ยารักษามะเร็งที่เต้านม ต่อมน้้าเหลือง ไต และอัณฑะ
Reserpine
ยาลดความดันโลหิต
Morphine
ยาระงับปวด
Quinine
ยารักษามาลาเรีย
Digoxin
ยารักษาโรคหัวใจโตและเสื่อมประสิทธิภาพ
ลักษณะที่เป็นสารสกัด
Asafoetida tincture
โดยมีAlcohol เป็นตัวทำละลาย
สกัดจากFerula asafoetida
Compound cardamon mixture
พริก ขิง กระวานเทศ
การบูรเซอรีนและกลีผสมอยู่ด้วย
ยาที่ได้จากแร่ธาตุ
Sodamint tablet
โซเดียมคาร์บอเนต
Compound ferrous sulfate tablets
คอปเปอร์ซับเฟส
แมงกานีสซัลเฟส
เฟอร์รัสซัลเฟต
Alumina magnesium tablet
เจลอย่างแห้ง
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์
อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์
เป็นสารอนินทรีย์เคมีที่ได้จากธรรมชาติ
Iodine tincture
ไอโอดีน
โพแทสเซียมไอโอไดด์
Oral rehydration salts
โพแทสเซียมคลอไรด์
โซเดียมคลอไรด์
โซเดียมไบคาร์บอเนต
Antimanic drug
ลิเทียมคาร์บอเนต
ยาที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมีและกึ่งสังเคราะห์ทางเคมี
การสังเคราะห์สารเคมีขึ้นใหม่โ
Cimetidine ยารักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร
Quinidine ยารักษาโรคหัวใจที่มีการเต้นผิดปกติ
Ephedrine ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี
รักษามาลาเรีย
Falciparum ที่ดัดแปลงมาจากQuinine
ยาที่ผลิตจากวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ
เป็นการผลิตยาโดยอาศัยวิธีการทางพันธุวิศวกรรม(Genetic engineering
สารต่างๆที่ร่างกายสร้างขึ้นในระบบภูมิคุ้ม
Cytokines
Interferon
นางสาวภัคนันท์ ภารมาตย์ รหัสนิสิต 6305010136