Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ด้านสุขภาพและสาธารณสุข - Coggle Diagram
การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ด้านสุขภาพและสาธารณสุข
ภาวะโรคและวางแผนเฝ้าระวังและการใช้ทรัพยากรเข้าแทรกแซง
ภาวะของโรค(Burden of Disease)
การที่คนประสบอุบัติเหตุเจ็บป่ วย พิการ หรือทุพพลภาพ ตายก่อนวัยหรือ
สภาวะที่ทําให้ตนเสียสุขภาพไป ทั้งจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร และจากการสูญเสียคุณภาพชีวิต
หลักการในการพิจารณา
กลุ่มโรคเรื้อรัง
กลุ่มโรคที่เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็ นภาระสําหรับระบบบริการ
กลุ่มโรคที่มีการใช้บริการผู้ป่ วยในมากหรือต้องนอนโรงพยาบาลนาน
กลุ่มโรคที่ผู้ป่วยมีโอกาสเข้ารับบริการที่ห้องฉุกเฉินได้มาก
กลุ่มโรคที่มีขนาดปัญหาหรือผลกระทบต่อชุมชนมาก
กลุมโรคที่มีค่ารักษาพยาบาลสูง
ดัชนีวัดสุขภาพ
การคํานวณความสูญเสียทางสุขภาพจากความเจ็บป่วย พิการ หรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควรโดยวัดออกมาเป็นจํานวณปีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด เพศชาย 70 ปี เพศหญิง 80.1 ปี
Disability adjust life year (DALYs)
ปี สุขภาวะ คือ ปี ที่มีสุขภาพสมบูรณ์ มีชีวิตตามปกติ ทํากิจกรรมได้ปกติ
DALYs คือ จํานวนปี สุขภาวะที่ปรับด้วยความบกพร่องทางสุขภาพ หรือ ดัชนีที่วัดสถานะ
สุขภาพของประชากรแบบองค์รวม
YLL (Year of life lost) = จํานวนปี ที่สูญเสียไปจากการตายก่่อนวัยอันควร
YLD (Year of life lost due to disability) = จํานวนปี ที่มีชีวิตอยู่กับความพิการบกพร่องทางสุขภาพ
ประโยชน์ของการประเมินผลในงานด้านสาธารณสุข
ทางเลือกในวิธีการรักษา
ทางเลือกเกี่ยวกับสถานที่จะให้การดูแลรักษาผู้ป่วย
ทางเลือกในวิธีการตรวจหาสาเหตุของโรค
ทางเลือกในการจัดองค์การจัดการเพื่อการสาธารณสุข
ทางเลือกในการป้องกนการเจ็บป่วย
หลักการประเมินทางเศรษฐศาสตร์
พิจารณาผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้อง
รวบรวมต้นทุน
จําแนกองค์ประกอบของต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
คํานวณต้นทุน
กาหนดสิ่งที่จะประเมิน
ตีค่าประโยชน์ที่ได้
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลประโยชน์(CBA: Cost-Benefit analysis)
ข้อดีของ
สําหรับโครงการหนึ่ งโครงการใด
จะต้องให้ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์กบผู้ตัดสินใจได้ทราบว่าโครงการนั้นต้องใช้ทรัพยากรไปเป็นมูลค่าเทาใด
ข้อด้อยของ CBA
ใช้ได้กบทุกโครงการอย ั ่างกว้างขวางนั้นตั้งบทสมมิฐานที่ว่าต้นทุนและผลประโยชน์ต่างๆของทุกๆโครงการสามารถคิดค่าเป็นตัวเงินได้แต้ยังเป็นเรื่องที่โต้แย้งกันในทางทฤษฎีหรือแนวความคิด
การวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล(Cost-Effectiveness analysis: CEA)
ข้อดีของ
เป็ นการลดข้อจํากัดของวิธี การ
CMA นั้นคือโครงการที่นำมาเปรียบเทียบไม่จำเป็นที่เป็นโครงการที่ให้ผลเหมือนกันทุกประการ
ข้อจํากัด
ก า ร ใ ช้โ ค ร ง ก า ร ที่ นํา ม า วิ เ ค ร า ะ ห์
เปรียบเทียบกนตามวิธีการCEA จะต้องเป็ น
เป้าหมายของโครงการที่นําเมาเปรียบเทียบนั้นต้องสามารถระบุวัดขนาดได้
ความเป็นธรรมทางสุขภาพ
ประเทศไทยได้กําหนดความเป็ นธรรมไว้หลายด้านในรัฐธรรมนูญ เช่น ความเท่าเทียมกันทางสิทธิมนุษยชน ความเท่าเทียมกันทางการเมือง
การบรรลุวัตถุประสงค์ทางสุขภาพ
ความเป็นธรรมทั้งแนวราบและแนวดิ่ง
กระตุ้นให้บริการมีคุณภาพ
การบริการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
คุณภาพของสถานบริการต่างๆใกล้เคียงกัน