Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
:star:แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวชและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวช
case formulation
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors) สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ภายนอกที่ทำให้บุคคลเริ่มปรากฏความผิดปกติของโรคทาจิตเวชขึ้น
ปัจจัยที่ทำให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors) สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ความเชื่อทัศนคติหรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ทำให้อาการความผิดปกติของโรคทาจิตเวชที่เกิดขึ้นยังไม่หายไป หรือไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors) สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม หรือสิ่งที่แฝงอยู่ใน ตัวบุคคล ที่น่าจะนำไปสู่การเกิดความผิดปกติของโรคทางจิตเวชก่อนที่จะปรากฏความผิดปกติของจิตเวชขึ้น
ปัจจัยปกป้อง (protective factors) สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ความเชื่อทัศนคติ หรือพฤติกรรมของบุคคล ที่ช่วยให้บุคคลปรับตัวต่อสถานการณ์
stress diathesis model
บุคคลที่เสี่ยง (diathesis) สถานการณ์ความตึงเครียดทาง สิ่งแวดล้อม (stress)
diathesis ต่ำ stress สูง ไม่เกิดโรค diathesis สูง stress ต่ำ ไม่เกิดโรค
การมียีนส์หรือการรวมกันทางพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจง เกิดจุดอ่อนเสี่ยงเกิดโรค
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
ปัจจัยทางด้านจิตใจ (psychological factors)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์ ที่ไม่สมดุลกัน Id, Ego เนเธฅเธฐ Superego ต้องเข้มแข็ง
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (humanistic theories)
ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและ พฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากความไม่รู้ ไม่เข้าใจปัญหาที่แท้จริงของตนเอง
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจากประสบการณ์ของมนุษย์ที่ผ่านการเรียนรู้การตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสภาวะสิ่งแวดล้อมต่าง ๆในช่วงชีวิตที่ผ่านมา
ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม
มองปัญหาสุขภาพจิต บุคลิกภาพ และพฤติกรรมที่ผิดปกติของมนุษย์มีสาเหตุมาจาก ความคิด ความเชื่อที่ผิดปกติหรือไม่สมเหตุสมผลขอมนุษย์
ปัจจัยทางด้านสังคม (social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
บริเวณที่ตั้งของที่อยู่อาศัย ลักษณะของชุมชนข้างเคียง ความหนาแน่นของชุมขน
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ครอบครัวที่อบอุ่น สมาชิกในครอบครัวก็จะมีความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย และไว้วางใจต่อกัน
การศึกษา การขาดการศึกษา การศึกษาในภาวะที่ต้องมีการแข่งขันกันสูง หรือเด็กถูกบังคับ ให้เรียนในสิ่งที่ไม่ชอบ
เศรษฐกิจและสังคม ปัญหาทางด้านการเงินหรือความยากจน
วัฒนธรรม วัฒนธรรในแต่ละเชื้อชาติที่แตกต่างกันบางอย่างก็ทำให้มนุษย์เกิดความเครียด ขัดแย้ง และความคับข้องใจได
การเมือง การเปลี่ยนแปลงผู้นำทางการเมืองการปกครอง
ปัจจัยด้านชีวภาพ (Biological factors)
การทำหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
ระดับของ serotonin จะมีความสัมพันธ์กับโรคอารมณ์แปรปรวน (mood disorder) โรคย้ำคิดย้ำทำ (obsessive compulsive disorder) และโรคจิตเภท (schizophrenia)
norepinephrine มากเกินไปจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล (anxiety disorder) โรคอารมณ์แปรปรวน (mood disorder) ที่แสดงอาการคลุ้มคลั่งถ้ามี norepinephrine ในระดับน้อยจะสัมพันธ์กับการเกิตภาวะซึมเศร้าได้
dopamine น้อยเกินไปจะสัมพันธ์กับการเกิดโรคซึมเศร้า (depressive illness)
ผู้ป่วยโรคชัก (seizure disorder) และโรควิตกกังวล (anxiety disorder) จะมีปริมาณของ GABA ลดลงกว่าปกติ
ผู้ป่วยมีการสูญเสียเซลส์ประสาท บริเวณฐานสมองส่วนหน้า (base of frontal lobes)จะทำให้ระดับของ acetylcholine ลดลง
พันธุกรรม (genetics)
บุตรของผู้ป่วยโรคจิตเภท จะมีอัตราเกิดโรคจิตเภทได้สูงกว่าบุคคลทั่วไป
ความผิดปกติที่มีมาแต่กำเนิด (congenital abnormal)
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทำงานของสมอง
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
ปัจจัยทางจิตวิญญาณ (spiritual factors)
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
แนวคิดที่สำคัญในดำเนินชีวิต เป็นการให้ความหมายแก่สิ่งที่สำคัญในชีวิต สะท้อนออกมาให้เห็นได้ในพฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ (concept of deity)
ศาสนา หรือสิ่งที่บุคคลเลื่อมใส ศรัทธา
:star:อาการวิทยาและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช
เกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวช ในปัจจุบันใช้เกณฑ์ในการจำแนกโรคทางจิตเวช
International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10)
1992 พัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) และได้รับการ ตีพิมพ์ในปีคริสต์ศักราช 1992
ใช้ระบบตัวอักษรร่วมกับตัวเลขตั้งแต่ A00 -Z99 โดยความผิดปกติ ทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders จะเริ่มที่ F00-F99
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
สร้างโดยสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (American Psychiatric Association หรือ APA) เริ่มใช้ในปีคริสต์ศักราช 1994
Axis I: clinical syndromes ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิต
Axis II: developmental disorders and personality disorders ความผิดปกติด้านพัฒนาการและความบกพร่องทางปัญญาหรือปัญญาอ่อน
Axis III: physical conditions ภาวะความเจ็บป่วยทางกายของผู้ป่วยในขณะนั้น
Axis IV: severity of psychosocial stressors ปัญหาจากจิตสังคม หรือสิ่งรอบตัวที่มีส่วน สำคัญในการก่อให้เกิดโรคหรือทำให้โรคกำเริบ
Axis V: Highest Level of Functioning เป็นการประเมินประสิทธิภาพของการปรับตัวของผู้ป่วย
กลุ่มของอาการทางจิตเวช
ความผิดปกติของความคิด (disturbance of thinking)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติโดยรวมของความคิด (general disturbance in form or process of thinking)
autistic thinking ความคิดหมกนอยู่กับโลกภายในหรือโลกส่วนตัว
illogical thinking การคิดแบบไม่มีหลักตรรกศาสตร์
reality testing ความสามารถในการประเมินและพิจารณา
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของกระบวนการคิด (disturbances in form of thought)
circumstantiality ความคิดอ้อมค้อมและมีรายละเอียดมากแต่ยังกลับเข้าสู่ประเด็นได้
flight of ideas ความคิดเปลี่ยนจากประเด็นหนึ่งไปอีกประเด็นหนึ่งอย่างรวดเร็ว
clang association ความคิดเชื่อมโยงกันด้วยคำพ้องเสียง
loosening of association หรือ derailment คิดออกนอกประเด็น
neologism ความคิดเกิดจกการผสมคำหรือวลีขึ้นใหม่ที่ผู้ฟังไมสามารถเข้าใจได้
verbigeration หรือ cataphasia การซ้ำคำหรือวลีที่ไม่มีความหมาย
perseveration ไม่สามารถเปลี่ยนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เปลี่ยนไปได้
thought blocking กระบวนการคิดที่สะดุดหยุดกลางคัน
tangentiality ความคิดอยู่ในหัวข้อเรื่องที่สนทนาแต่ก็ไม่ตรงประเด็นนัก
incoherence ความคิดสะเปะสะปะ
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด (disturbance of content of thought)
delusion อาการหลงผิด มีความเชื่ออย่างผิด ๆ โดยความเชื่อนี้ไม่ได้เกิดจากการมี เชาว์ปัญญาบกพร่องหรือเป็นความเชื่อตามลักษณะสังคมวัฒนรรมของบุคคลนั้น ๆ
obsession การย้ำคิด การความคิดหรือแรงดลใจเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีกซึ่งบุคคลนั้นรู้ดี ว่าความคิดย้ำนั้นไม่เป็นความจริงแต่ก็อดคิดไมได้ จึงทำให้เกิดความกังวลขึ้น
overvalued ide ความเชื่อที่บุคคลนั้นให้คำนิยมหรือให้ความสำคัญมาก และอาจไม่สามารถให้เหตุผลได้ว่าทำไมจึเชื่อเช่นนั้น
phobia การกลัวที่ผิดธรรมดา กลัวบางสิ่งบางอย่างหรือสถานการณ์เฉพาะบางอย่าง ซึ่งเป็นความกลัวอย่างไม่มีเหตุผลและกลัวมากเกินไป
poverty of content ความคิดที่มีเนื้อความน้อยแม้จะมีปริมาณความคิดมาก
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of emotion)
ความผิดปกติของอารมณ์ที่แสดงออก (disturbance of affect) affect คือ สภาวะ อารมณ์ที่ปรากให้ผู้อื่นสังกตได้ อารมณ์ที่แสดงออก (affect)
ความผิดปกติของอารมณ์ (disturbance of mood) mood คือ สภาวะอารมณ์ (emotion) ที่คงอยู่นาน เป็นประสบการณ์ภายในเฉพาะตัวที่มีผลต่อการรับรู้และพฤติกรรมของบุคคลนั้น ตัวอย่างลักษณะของ mood
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว (disturbance of consciousness)
ชนิดที่ 1 ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว (disturbance of level of consciousness)
clouding of consciousness ความรู้สึกตัวไม่สมบูรณ์มีการรับรู้และการแสดงผิดปกติ
disorientation ความบกพร่องของการตระหนักรู้
drowsiness ความสามารถในการตระหนักรู้ลดลงเพราะง่วงนอน
somnolence อาการง่วงมากผิดปกติแต่หากได้รับการกระตุ้นก็จะกลับมาตื่นและรู้สึกตัว
coma สภาวะที่ไม่รู้สึกตัว
sundowning ลักษณะที่อาการทางจิต ปัญหาพฤติกรม หรือความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
stupor ไม่สามารถตระหนักรู้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
ชนิดที่ 2 ความผิดปกติของการคงความใส่ใจ (disturbance of attention)
hypervigilance สนใจและมุ่งความสนใจในสิ่งเร้าทุกอย่าง
trance ความใส่ใจจะถูกรวมไว้ที่จุดเดียว ร่วมกับมีความไม่ต่อเนื่องของระดับความรู้สึกตัว มักพบในการสะกดจิต และ dissociative disorder
distractibility ไม่สามารถพุ่งความสนใจในสิ่งที่สำคัญได้
ชนิดที่ 3 ความผิดปกติของการถูกชักจูง (disturbance of suggestibility)
folie a deux ภาวะที่บุคคลสองคนมีความผิดปกติทางจิตร่วมกัน
hypnosis ภาวะที่มีการชักนำให้บุคคลมีระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส (disturbance of perception) การรับรู้ (perception)
ชนิดที่ 2 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทลวง (illusion)
การรับรู้ที่บิดเบือนไปจากสิ่งที่มา กระตุ้นจริง อาจเกิดจากความผิดพลาดในขั้นตอนของการรับรู้ (perceive) หรือในขั้นตอนตีความ (interpret)
ชนิดที่ 3 การรับรู้ผิดปกติที่เป็นปรากฎการณ์ conversion และ dissociation
การรับรู้ผิดปกติแปรสิ่งที่เก็บกดอยู่ในจิตไร้สำนึกให้เป็นอาการทางร่างกาย (conversion)ทำให้ความคิดถูกแยกออกจากอารมณ์และความรู้สึก ส่งผลให้การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและประสาทสัมผัสด้านต่าง ๆ ถูกบิดเบือนไป (dissociation)
ชนิดที่ 4 ความผิดปกติของการรับรู้ที่เกิดความผิดปกติของพุทธิปัญญา (cognition)
อาการที่ ไม่สามารถจำได้ (recognize) หรือไม่สามารถแปลการรับรู้ (interpretation) สิ่งที่มากระตุ้นได้ เรียกว่า agnosia
ชนิดที่1 การรับรู้ผิดปกติแบบประสาทหลอน (hallucination) เป็นการรับรู้แบบผิดพลาด (false)
การรับรู้แบบผิดพลาด (false) คือ มีการรับรู้เกิดขึ้นเองโดยที่จริง ๆ แล้วไม่มีสิ่งเร้าเลย เมื่อรับรู้แล้วอาจจะมีการตีความ (interpret)ตามด้วยอาการหลงผิดด้วยหรือไม่ก็ได้
ความผิดปกติของการพูด (disturbance of speech)
nonspontaneous speech กรพูดเฉพาะเวลาถูกถามหรือถูกพูดด้วยโดยตรง
dysprosody กรพูดแบบไม่มีเสียงขึ้นลงตามลักษณะปกติของการพูด
poverty of content of speech กรพูดมีเนื้อความน้อยแม้ปริมาณคำในการพูดเพียงพอ
Volubility หรือ logorrhea พูดมากและพูดเร็วอัดกันโดยที่เนื้อหาเชื่อมโยงกันและฟัง เข้าใจได้
cluttering พูดเป็นจังหวะติดๆ ขัดๆ
dysarthria ความผิดปกติในการเปล่งเสียงพูด
poverty of speech การพูดมีปริมาณคำน้อยมาก
stuttering พูดติดอ่าง
pressure of speech พูดมาก พูดเร็ว และเร่งขึ้นเรื่อย ๆ
ความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory) ความจำ (memory)
recent memory ความจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 2-3 วันก่อน
immediate memory ความจำสิ่งที่เพิ่งรู้มาเมื่อสักด เป็นวลาหลายวินาทีหรือหลายนาที
recent past memory ความจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 2-3 เดือนก่อน
remote memory ความจำเหตุการณ์ในอดีตผ่านที่นานแล้ว
ส่วนของความผิดปกติของความจำ (disturbance of memory)
amnesia สูญเสียความจำ
paramnesia ความจำเป็นเท็จเนื่องจากมีการบิดเบือนในกระบวนการระลึกความ
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (disturbance of motor behavior)
aggression การเคลื่อนไหวด้วยความก้าวร้าว
abulia การไม่มีเจตจำนง
acting out เป็นการกระทำอย่างวู่วาม
automatism การเคลื่อนไหวที่เป็นไปตามจิตไร้สำนึก
catatonia การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติอาจจะเกิดจากโรคทางจิตเวชหรือโรคทางสมอง
cataplexy ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหายไปอย่างฉับพลัน
command automatism หรือ automatic obedience การทำตามคำชักจูงอย่างอัตโนมัติ
mutism ไม่พูดหรือพูดไม่ได้
motor overactivity การเคลื่อนไหวมากเกินไป
:star:สิทธิของผู้ป่วยกฎหมาย จริยธรรม ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ให้ความหมายของคำสำคัญที่ควรรู้
ผู้ป่วย บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตซึ่งควรได้รับการบำบัดรักษา
ผู้ป่วยคดี ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการสอบสวน ไต่สวนมูกฟ้อง หรือพิจารณาใน คดีอาญา
ความผิดปกติทางจิต อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิด ความจำ สติปัญญา ประสาทการรับรู้ หรือการรู้เวลา สถานที่ หรือบุคคล
ภาวะอันตราย พฤติกรรมที่บุคคลที่มีความผิดปกดิทางจิตแสคงออกโดยประการ ที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
ความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา สภาวะของผู้ป่วยซึ่งขาดความสามารถ ในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา
คุมขัง การจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลด้วยอำนาจของกฎหมายโดยการคุมตัว ควบคุม
มาตราอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 2,13,15,16,17,18,9,20,21,22,23,24,27
ขั้นตอนและแนวทางการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
แจ้ง
แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นตัน พนักงานฝ่าย ปกครอง
ตรวจ
สถานพยาบาลของรัฐหรือหรือสถานบำบัดรักษาต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องต้น ภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่บุคคลนั้นมาถึงสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษา โดยมีแพทย์และ พยาบาลอย่างละ 1 คน เป็นผู้ตรวจวินิจฉัยอาการเบื้องต้น
เจอ
เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 (ผู้ที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความ จำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา)
ส่ง
ให้บุคคลนั้นต้องเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานบำบัดรักษา
ให้บุคคลนั้นต้องรับการบำบัดรักษา ณ สถานที่อื่นนอกจากสถานบำบัดรักษาเมื่อบุคคลนั้นไม่มีภาวะอันตราย
หลักจริยธรรม (ethical principles)
ระเบียบวินัย หมายถึง การที่พยาบาลสามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองให้อยู่ในกฎระเบียบของ โรงพยาบาลหรือของสังคมกำหนดไว
ความยุติธรรมหรือความเสมอภาค หมายถึง การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมตามมาตรฐานการ พยาบาลและไม่เลือกปฏิบัติ
ความเอื้ออาทรต่อผู้ป่วย หมายถึง ความเอาใจใส่เป็นห่วงเป็นใย ต่อผู้ป่วย
การบอกความจริง เป็นหลักพื้นฐานสำหรับการสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด จะช่วยส่งเสริมพัฒนาความไว้วางใจ (trust) และการปรับตัวต่อกัน
ความซื่อสัตย์ หมายถึง ความซื่อตรง จริงใจ ไม่หลอกลวง หรือเอาเปรียบผู้ป่วย รวมถึงการรักษา สัญญา (loyalty) และการปกปิดความลับ (confidentiality)
ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มที
การเคารพเอกสิทธิ์ หมายถึง การที่พยาบาลทำหน้าที่ปกป้องผู้ป่วยภายในขอบเขตหน้าที่ที่ สามารถทำได้ตามที่วิชาชีพกำหนดไว้
การเสียสละ หมายถึง การกระทำเพื่อคนอื่นด้วยความเต็มใจ และมีเจตนาบริสุทธ์ โดยไม่หวัง ผลตอบแทน
การรักษาความลับ หมายถึง การเก็บข้อมูลของผู้ป่วยเป็นความลับ โดยส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูล เกี่ยวกับประวัติสุขภาพหรือการรักษาพยาบาล
กรณีผู้ป่วยคดี
มาตรา 35
ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจำเลย ไปรับการตรวจที่สถานบำบัดรักษา พร้อมทั้งรายละเอียดพฤติการณ์แห่งคดี
มื่อสถานบำบัดรักษารับผู้ต้องหาหรือจำเลยไว้แล้ว ให้จิตแพทย์ตรวจ วินิจฉัยความผิดปกติ และทำความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของพนักงานสอบสวนหรือศาลว่าผู้ต้องหา หรือจำเลยสามารถสู่คดีได้หรือไม่
การตรวจวินิจฉัยของจิตแพทย์ในการพิจารณา และเมื่อบุคคลนั้นพิสูจน์ได้ว่าวิกลจริตจริง บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องอาจขอร้องต่อศาล สั่งให้เป็นคนไร้ ความสามารถได้และตั้งผู้อนุบาลได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29
บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าภริยาสามีก็ดี ผู้บุพการี คือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด ผู้สืบสันดาน คือ ลูก หลาน เหลน ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์หรือพนักงานอัยการ ร้องขอต่อศาล แล้วศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถคำสั่งนั้นให้โฆษณาตามในราชกิจจานุเบกษา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 31
การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ ความสามารถได้ทำลงไป การนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32
การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตได้ทำลง แต่หากศาล ยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถการนั้น จะเป็นโมฆียะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ด้วยว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้น วิกลจริตอยู่และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต