Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.8 การพยาบาลความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด, การใช้ติดสารเสพติด -…
5.8 การพยาบาลความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด
ความหมาย
โรคของการใช้สารเสพติด(substance use disorder)
การใช้สารแบบมีปัญหา (substance abuse)
การติดสาร (dependence)
ภาวะเมาสาร (substance intoxication)
ภาวะถอนสาร (substance withdrawal) ลงแดง กินนานๆแล้วหยุด
โรคทางจิตเวชที่เกิดจากการใช้ติดสารเสพติด(substance induced mental disorder) ผลข้างเคียง
อาการและอาการแสดง
โรคของการใช้สารเสพติด (substance use disorder)
การใช้สารแบบมีปัญหา
ทำงานไม่เต็มที่
เสียสุขภาพ เช่น ขับรถขณะมึนเมา
มีปัญหาทางกฎหมาย
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น การทะเลาะเบาะแวงระหว่างสามีภรรยา
การติดสาร (substance dependence)
การดื้อยา (tolerance)
อาการขาดยา (withdrawal)
ใช้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ตั้งใจหยุดแต่ทำไม่ได้
ภาวะเมาสาร (substance intoxication)
พฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ก้าวร้าว อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย การตัดสินใจบกพร่อง
โดยมักเกิดอาการวิตกกังวล กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข ตื่นต้น หงุดหงิดง่าย หน้าออกร้อน (flush face) คลื่นไส้อาเจียนและปวดท้อง ปัสสาวะบ่อย เหงื่ออกมาก มือและเท้าสั่น นอนไม่หลับ
นิโคติน (nicotine) ในยาสูบหรือบุหรี่
ยากลุ่ม barbituratesและยากลุ่ม benzodiazepines
ภาวะถอนสาร (substance withdrawal)
ความบกพร่องในหน้าที่ด้านสังคม การงาน และด้านอื่น ๆ ที่สําคัญ
สารได้แก่ คาเฟอีนในเครื่องดื่ม เช่น คาเฟอีน (caffeine) ในกาแฟ, เครื่องดื่มชูกําลัง, นิโคติน (nicotine) ในยาสูบหรือบุหรี่
ความรู้สึกหดหู่ (dysphoria)
อ่อนเพลีย เมื่อยล้ํา (fatigue) ปวดศีรษะ ฝันร้าย นอนหลับมาก รับประทานอาหารมากกว่าปกติ มี craving เคลื่อนไหวเชื่องช้า
ยากลุ่ม barbituratesและยากลุ่มbenzodiazepines
กลุ่มที่ 1 สารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system stimulants)
เกิดอาการตื่นตัว (arousal)
ขยันขันแข็ง(hyperactivity)
อารมณ์ดี (elevated mood)
พึงพอใจ (peasant)
เคลิ้มสุข (euphoria)
ความต้องการในการนอน
จึงน้อยลง (decreased need of sleep)
ก้าวร้าว (aggression)
มีพฤติกรรมรุนแรง (violence)
หวาดระแวง (hypervigilance)
ประสาทหลอน (hallucination)
ซัก (seizure)
สารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางชนิดรุนแรง
โคเคน (cocaine),
แอมเฟตามีน (amphetamine),
เมทแอมเฟตามีน (met-amphetamine)
กลุ่มที่ 2 กลุ่มนาร์โคติก (narcotic) เป็นสารที่ออกฤทธิ์ผ่าน opioid receptor
หายปวด (analgesic)
กดระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system suppression)
กดศูนย์การหายใจ (respiratory suppression)
ได้แก่ สารฝิ่น (opium),มอร์ฟีน (morphine), เฮโรอีน (heroin)
กลุ่มที่3 กลุ่มกดระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system depressants)
ออกฤทธิ์โดยตรงต่อ limbic system ผ่าน GABA receptor
ได้แก่ ยากลุ่ม barbiturates, ยากลุ่ม benzodiazepines, สุรา(alcohol)
ลดความวิตกกังวล จิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กระสับกระส่าย ง่วงนอน อาการหลงลืม (amnesia)
กลุ่มที่ 4 กลุ่มหลอนประสาท(psychedelic drugs/Hallucinogen)
ออกฤทธิ์ต่อserotonin และ glutamate receptor
ทําให้ประสาทรับรู้บิดเบือน (perceptual disturbance) ประสาทหลอน
หลงผิด และสับสน สารเสพติดในกลุ่มนี้
ได้แก่ สาร lysergic acid diethylamide (LSD), ketamine,
phencyclidine (PCP), ยาอี (ecstasy), mescalin, เห็ดขี้เมา (mushrooms/psilocybin)
การประเมินสภาพ (assessment)
ชนิดของสารเสพติดที่ผู้ป่วยเคยใช้
วิธีที่ผู้ป่วยใช้ เช่น การสูบควัน การดม การกิน หรือการฉีดเข้าเส้นเลือด
ปริมาณสารเสพติดที่ใช้ในแต่ละครั้ง
ระยะเวลา ความถี่ ครั้งสุดท้าย
อาการหลังใช้
ประวัติเลิก ข้อมูลการตรวจร่างกาย ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
สาเหตุ
1) ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทในสมอง
การเปลี่ยนแปลงระดับเมตาบอลิสม (metabolic activity)
2) ปัจจัยทางจิต
มีแรงจูงใจในการอยากลอง
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
บุคลิกภาพ
3) ปัจจัยทางสังคม
ครอบครัวหรือพ่อและแม่มีการใช้สารเสพติด
สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี เด็กหันไปติดเพื่อน ถูกเพื่อนชักจูง
สังคมมีค่านิยมผิดเกี่ยวกับการใช้สารเสพติด
สังคมสิ่งแวดล้อมที่เป็นวัตถุนิยม
การบำบัด
ระบบสมัครใจ
ระบบบังคับรักษา
การต้องโทษ (ทัณฑสถานบําบัดพิเศษ)
รูปแบบการบำบัด
ระยะแรก (pre-admission) การเตรียมพร้อมสําหรับผู้ป่วยใช้เวลา 1 - 7 วัน
ระยะสองการถอนพิษยา (detoxification) คือ ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ระยะสามการรักษาทางจิตสังคมเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ (psychosocial rehabilitation)
ระยะสี่การติดตามดูแล (after-care) กลับสู่ชุมชน
การใช้ติดสารเสพติด