Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนและประกอบด้วย 5 ขั้นตอน, นางสาวชญาดา ลอยแก้ว…
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนและประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
การวางแผนงานและโครงการ
การวางแผน
การตัดสินใจล่วงหน้า
ครอบคลุมสาระสำคัญ 3 ประการ
การวางแผนเป็นเรื่องของการเตรียมการ
การวางแผนเป็นเรื่องของการกระทำอย่างจงใจ
การวางแผนเป็นเรื่องของการจัดกระทำเพื่อผลในอนาคต
การใช้ความรู้ทางวิชาการและวิจารณญาณวินิจฉัยเหตุการณ์ในอนาคต
ความสำคัญของการวางแผน
การวางแผนเป็นเครื่องช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
ลักษณะของแผนที่ดี
มีความชัดเจน
มีความสมบูรณ์
มีความแม่นตรง
มีความครอบคลุม
มีความยืดหยุ่น
มีความเป็นพิธีการ
มีความง่ายในการปฏิบัติ
มีความง่ายในการควบคุม
มีความประหยัด
ประเภทของแผน
1.แผนระดับสูง
(แผนมโนมติ/แผนนโยบาย/แผนยุทธศาสตร์หรือแผนกลยุทธ์ )เป็นแผนที่องค์การบริหารระดับสูงกำหนดขึ้น
2.แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน(Plan) คือข้อกำหนดหรือรายละเอียดต่างๆของการดำเนินงานในอนาคต
แผนงาน หรือชุดโครงการ(Program) คือกลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกัน
โครงการ(Project) คือกลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
โครงการและการเขียนโครงการ
ที่นิยมมี 2 วิธีคือ
1.แบบประเพณีนิยม (Convention method)
ชื่อโครงการ : การตั้งชื่อโครงการนั้นต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
หลักการและเหตุผล : เป็นส่วนที่บอกว่าทำไมต้องการทำโครงการนั้น ทำแล้วได้อะไร
วัตถุประสงค์ : เป็นการบอกให้ทราบว่า การดำเนินงานตามโครงการนั้นมีความต้องการให้อะไรเกิดขึ้น
เป้าหมาย : เป็นการกำหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
วิธีดำเนินการ : เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ : การระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการ
งบประมาณ : เป็นประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของโครงการ
การประเมินผล : บอกแนวทางการติดตามประเมินผลควรทำอย่างไร ในระยะเวลาใด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ : เป็นผลประโยชน์และผลตอบแทน
2.แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ (Logical Framwork method)
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชนและการวินิจฉัยชุมชน
หลักการ และวิธีการประเมินภาวะสุขภาพชุมชนได้
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต (Observation)
การสำรวจ (Survey)
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)
การวัดและประเมิน(Measurement)
การทดสอบ (Test)
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
Inferential Stat.
2ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
การนำเสนอข้อมูล
Text
Table
Bar Chart
Pie Chart
Line Graph
กระบวนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชนได้
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ : เช่น ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้าน
สุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน
การระบุสาเหตุและทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง
นางสาวชญาดา ลอยแก้ว เลขที่ 26 รุ่น 36/1 รหัสนักศึกษา 61111301027