Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยาต้านอักเสบ, :tada: 6301110801050 สาธนี ศรีเมฆ sec.1 -…
ยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยาต้านอักเสบ
ยาลดไข้ (antipyretic)
ยาพาราเซตามอล (Paracetamol)
ต้องระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาอื่นที่มีพาราเซตามอล
เป็นส่วนประกอบเพราะอาจทำให้ได้รับยาเกินขนาด
ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับ
พาราเซตามอลที่เป็นยาเดี่ยวจะบรรเทาอาการปวด
ขั้นอ่อนถึงปานกลาง และใช้เป็นยาลดไข้
สามารถใช้ได้ในหญิงตั้งครรภ์ หรือ ให้นมบุตร
อาการข้างเคียงของยาพาราเซตามอล
อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออก ได้บ้าง(ไม่บ่อย)
มีรายงานความเป็นพิษต่อตับ เมื่อใช้ยาในขนาดสูงกว่าที่แนะนำ ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน หรือใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น ตับแข็ง ขาดสารอาหาร ติดสุราเรื้อรัง
ยาเอ็นเสด (เช่น ไอบูโพรเฟน)
สามารถลดไข้ได้ แต่ต้องทำด้วยความระมัดระวัง
เป็นยาแก้ปวดในกลุ่มเอ็นเสด
ข้อห้าม
ห้ามใช้ยาในผู้ป่วยที่สงสัยเป็นไข้เลือดออก หรือ มีเลือดออกง่าย
ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติหอบหืด
อาการข้างเคียงของยาไอบูโพรเฟน
ตับ : เอนไซม์ตับผิดปกติ ตับอักเสบ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ทำให้เกิดการคั่งน้ำในร่างกาย ความดันโลหิตสูงขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร : ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
ระบบหายใจ : อาการหอบหืดกำเริบ
ระบบไต : ไตวายเฉียบพลัน
การออกฤทธิ์ของยาลดไข้
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโพสตาแกรนดิน (PGE2) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นศูนย์ ควบคุมอุณหภูมิ (thermo regulatory center) ในสมองส่วน
ไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
เพิ่มสารต้านอักเสบอื่นที่มีผลต่อการ ควบคุมอุณหภูมิ
ยาแก้ปวด (analgesics)
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ชนิดเสพติดโอปิออยด์ (opioid analgesics)
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งไม่รุนแรง
โคเดอีน
ทรามาดอล
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งรุนแรง
เพทธิดีน
มอร์ฟีน
เฟนตานิล
ชนิดที่ไม่เสพติด (non-narcotic analgesic)
ยากลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs)
ยาพาราเซตามอล
อาการข้างเคียงของยา
ท้องผูก
ง่วงซึม
คลื่นไส้ อาเจียน
ยากลุ่มเอ็นเสด (กลุ่มยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์)
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเอ็นเสด
ลดเลือดไปเลี้ยงไต
ลดการหลั่งเยื่อเมือกทางเดินอาหาร
ลดความปวด
ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด (TXA2)
ลดการอักเสบ
หลอดลมหดเกร็ง
อาการข้างเคียงของยาเอ็นเสด
ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด : ทำให้เกิดการคั่งน้ำในร่างกาย
ความดันโลหิตสูงขึ้น เพิ่มโอกาสการอุดตันหลอดเลือด(บางยา)
ระบบหายใจ : อาการหอบหืดกำเริบ
ตับ : เอนไซม์ตับผิดปกติ ตับอักเสบ
ระบบไต : ไตวายเฉียบพลัน
ระบบทางเดินอาหาร : ทำให้เกิดคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เเผลในกระเพราะอาหาร
ยาสเตียรอยด์ (steroids)
หน้าที่
ควบคุมสมดุลของเกลือแร่
ปรับสมดุลเมื่อร่างกายเผชิญความเครียด
ควบคุมเมตาบอลิสมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
กดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ควบคุมการทำงานอวัยวะต่างๆของร่างกาย
อาการข้างเคียงของยาสเตียรอยด์
ระบบภูมิคุ้มกัน : กดภูมิคุ้มกันร่างกาย ทำให้ติดเชื้อง่าย (ยาขนาดสูง)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ความดันโลหิตสูงขึ้น ร่างกายบวมจากการลดการขับโซเดียมและคลอไรด์ เร่งการขับโพแทสเซียม ฟอสเฟต แคลเซียม
กระดูกและกล้ามเนื้อ : กระดูกบาง/พรุน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบตา : ความดันในลูกตาสูงขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร : ทำให้เกิดอาการปวดท้อง แผลในกระเพาะอาหาร
ระบบต่อมไร้ท่อ : การสะสมของไขมันผิดปกติ ภาวะดื้อน้ำตาล
:tada: 6301110801050 สาธนี ศรีเมฆ sec.1