Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 5 ตัวแปร ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
คุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา
อาจเป็นสิ่งที่มีชีวิต หรือไม่มีชีวิต เป็นสิ่งที่เปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป อาจจะอยู่ในรูปปริมาณ และในรูปคุณภาพ โดยตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิจัย
ความสำคัญ
มี6 ข้อ
6.ตัวแปรที่ชัดเจนนำไปสู่คำตอบของปัญหาที่ชัดเจนได้
5.มีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
4.ตัวแปรช่วยใหสามารถวัดและทดสอบได้
3.ถูกนำมากำหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย
2.เป็นองค์ประกอบสำคัญและถูกนำมาแสดงความเชื่อมโยงกันในกรอบแนวคิดการวิจัย
1.เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
ประเภทและที่มา
จำแนกได้ 5 ประเภท
1.การจำแนกตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย
2.การจำแนกตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร
3.การจำแนกตามคุณสมบัติของค่าของตัวแปร
4.การจำแนกตามความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
5.ตัวแปรมาก่อน
ที่มา
1.ศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
2.ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
3.รวบรวมจากข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์
การนิยามและการวัดตัวแปร
นิยามตัวแปร
การให้ความหมายของตัวแปรต่างๆที่เราจะศึกษาทุกตัวที่ปรากฏในวัตถุประสงค์ของการวิจัย
กำหนดตัวแปรของการวิจัย
นิยามตัวแปร
การวัดตัวแปร
การจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่วิเคราะห์หรือเข้าใจได้
ประเภทของการวัดตัวแปร
การวัดทางจิตวิทยา
การวัดทางกายภาพ
ระดับการวัดตัวแปร
การวัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร
การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร
การวัดแบบช่วงหรือช่วงมาตร
การวัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มประชากร
ประชากรมีกลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม
ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ในระดับเดียวกัน
ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ต่างระดับได้
ประเภทของประชากร
1.ประชากรที่มีจำนวนจำกัด
2.ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนหนึ่งของประชากรซึ่งผู้ทำการวิจัยนำมาใช้เป็นตัวแทนของประชากรในการศึกษา
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำนวนประชากรแน่นอน
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีทราบจำนวนประชากร
ข้อควรพิจารณา ในการกำหนดขนาดตัวอย่าง
ข้อควรพิจารณในการกำหนดขนาดตัวอย่าง
ข้อควรพิจารณในการกำหนดขนาดตัวอย่าง
1.วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.ความคลาดเคลื่อนระหว่างค่าที่แท้จริงกับคำสถิติที่ใช้เป็นตัวประมาณค่าที่ผู้วิจัยยอมรับได้
3.ความแปรปรวนของประชากร
4.ขนาดของประชากร
5.จำนวนของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
6.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
7.ธรรมชาติของการทำวิจัย
8.จำนวนของบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นประชากรในการศึกษา
9.อัตราการตอบที่ต้องการได้รับคืน
10.ข้อจำกัดด้านทรัพยากรอื่น ๆ
ขั้นตอนและวิธีการสุ่มตัวอย่าง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
1.การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น
2.การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
1.ศึกษาวัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.นิยามประชากร
3.กำหนดหน่วยตัวอย่าง
4.กำหนดขนาดตัวอย่าง
5.เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
6.ทำการสุ่มตัวอย่าง