Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การดูแลเด็กที่มีปัญหา ระบบทางเดินหายใจ, นางสาวนันทิกานต์…
บทที่ 8 การดูแลเด็กที่มีปัญหา
ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
(Acute laryngotracheobronchitis, viral croup)
เกิดจาก
การติดเชื้อของทางเดินหายใจ
ไวรัส
parainfluenza viruses (type 1-3)
ไวรัสอื่นๆ
influenza A
influenza B
respiratory syncytial virus (RSV)
แบคทีเรีย
Mycoplasma pneumoniae
ซึ่งมักพบในเด็กโตและอาการไม่รุนแรง
พยาธิสภาพที่พบในเด็ก
มีการอักเสบและบวมของกล่องเสียง หลอดคอ และหลอดลมโดยเฉพาะที่ตำแหน่งใต้
กล่องเสียง (Subglottic region )
ส่งผลให้
เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน
อาการที่พบ
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก Dyspnea
ผู้ป่วยจะไอเสียงก้อง (barking cough)
มีเสียงแหบ (hoarseness)
ส่วนใหญ่อาการจะไม่รุนแรงและหายได้เองยกเว้นบางรายที่มีอาการรุนแรงจนเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเฉียบพลัน
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
มักจะไม่ตอบสนองต่อการพ่นยาทั่วไป
ส่วนใหญ่จะพ่น Adrenaline
ต้องใส่ Endotracheal tube
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
การติดเชื้อ แบคที่เรีย ไวรัส เช่น Beta Hemolytic streptococcus gr. A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ
ในรายที่มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย
หรือเพดานปาก สาเหตุจะเกิดจาก Coxsackie Virus เรียกว่า Herpangina
คำแนะนำที่สำคัญคือ ให้กินยา
Antibioticให้ครบ 10 วัน
เพื่อป้องกัน
ไข้รูห์มาติค
หัวใจรูห์มาติค
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน AGN
การผ่าตัดต่อมทอนซิล (tonsillectomy)
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคือติดเชื้อเรื้อรัง หรือเป็นๆหายๆ
มีไข้, เจ็บคอ, เจ็บคอมากเวลากลืนหรือ
กลืนลำบากอย่างเรื้อรังหรือเป็นๆหายๆ
มีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการนอนกรน
มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
รายที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งของต่อมทอนซิล
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่สะดวกต่อการระบายเสมหะ จนกว่าเด็กจะรู้สึกตัวดี และสามารถขับเสมหะได้เอง
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ถ้าชีพจร 120 ครั้ง/นาที เป็นเวลาอย่างต่อเนื่อง เด็กเงียบ ซีด และมีการกลืนติดต่อกันเป็นข้อบ่งชี้ว่ามีเลือดออก
โดยทั่วไปจะเกิดภายใน
6-8 ชั่วโมงแรก
เมื่อเด็กรู้ตัวดี จัดให้เด็กอยู่
ในท่านั่ง 1-2 ชั่วโมง
ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆรับประทานของเหลว
ในรายที่ปวดแผลผ่าตัดให้ใช้กระเป๋าน้ำแข็งวางรอบคอ ถ้าปวดมากให้ยาแก้ปวด
หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดสามารถกลับบ้านได้ภายหลังผ่าตัด 24-48 ชั่วโมง
ผู้ป่วยมีแผลผ่าตัดที่ผนังในคอ
ทั้งสองข้อง บางรายมีอาการเจ็บคอ
ทำให้รับประทานไม่ค่อยสะดวกอาจทำให้น้ำหนักลดได้
แนะนำให้รับประทาไอศกรีมข้นๆ เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด
ทำให้หลอดเลือดหดตัว และเพื่อให้ร่างกายได้รับพลังงาน
หลังการผ่าตัด 1-2 วันแรกเพดานอ่อน
หรือผนังในคออาจบวมมากขึ้นได้
ทำให้หายใจอึดอัด ไม่สะดวก
ควรนอนยกศีรษะสูง
แนะนำให้อมและประคบน้ำแข็งบ่อยๆ ในช่วงสัปดาห์แรก
เพื่อลดอาการบวมบริเวณที่ทำผ่าตัด
ถ้าอาการหายใจไม่สะดวกขั้นรุนแรง หลังออกจาก
โรงพยาบาลแล้ว ควรรีบไปโรงพยาบาลเพื่อปรึกษาแพทย์
หลีกเลี่ยงการแปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกเกินไป อาจทำให้มีเลือดออกได้
ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก หรือข้าวต้ม
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อราเมื่อเกิดการติดเชื้อจะทำให้เกิดการบวมของเยื้อบุในโพรงอากาศ และส่งผลทำให้เกิดภาวะอุดตันช่องระบายของโพรงอากาศข้างจมูก ทำให้เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ระยะของโรค
Acute sinusitis ระยะของโรคไม่เกิน 12 สัปดาห์
Chronic sinusitis อาการจะต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
อาการ
มีไข้สูงมากกว่า 39 ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีน้ำมูกไหล ไอ
ในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการจะนานมากกว่า 10 วัน และมีอาการรุนแรง
โดยมีน้ำมูกใสหรือข้นเขียวเป็นหนอง ร่วมกับอาการไอ
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็นปวดบริเวณหน้าผาก และหัวคิ้วมาก
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยา paracetamal เพื่อลดไข้
ให้ยาแก้แพ้ ในรายที่ไซนัสอักเสบเรื้อรังที่มีสาเหตุชักนำมาจาก โรคภูมิแพ้
ไม่แนะนำให้ใช้ยาแก้แพ้ในผู้ป่วยที่เป็นไซนัสอักเสบ
แบบเฉียบพลัน เพราะจะทำให้จมูกและไซนัสแห้ง
ให้ยา Steroid เพื่อลดอาการบวม
การล้างจมูก
การทำความสะอาดโพรงจมูก ช่วยชะล้างมูก คราบมูก หรือ
หนองบริเวณโพรงจมูก/ไซนัส และหลังโพรงจมูกออก
ทำให้โพรงจมูกสะอาด ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคจากจมูกและไซนัสไปสู่ปอดช่วยลดจำนวนเชื้อโรค และยังช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้อีกด้วย
การล้างจมูกก่อนใช้ยาพ่นจมูก
จะทำให้ยาพ่นจมูกมีประสิทธิภาพดีขึ้น
ล้างจมูกวันละ 2 ครั้ง ตามแผนการรักษาของแพทย์
น้ำที่ใช้ล้างคือน้ำเกลือความเข้มข้น 0.9% NSS
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม (Chronic airway inflammation)
ทำให้เยื่อบุผนังหลอดลม มีปฏิกริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้มากกว่าปกติ Bronchial hyper-reactivityการมีความไวต่อสิ่งกระตุ้น
พยาธิสภาพ
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวม
มีการสร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hypersecretion)
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลม ได้รับออกซิเจน ให้พักเพื่อลด activity
ดูแลให้ยาลดอาการบวม เช่น Dexa ซึ่งเป็นยา Steroid
ในรายที่มีเสมหะไม่ใช้วิธีการเคาะปอด
อาการ
มักเริ่มต้นด้วยอาการ หวัด ไอ มีเสมหะ ถ้าไอมากขึ้นเรื่อยๆ
ฟังปอดได้ยินเสียง Wheezing ในช่วงหายใจออก
หากการหดเกร็งตัวของหลอดลมไม่มาก
จะมีอาการไม่มากแต่ก็เป็นอยู่เรื่อยๆ
ผู้ป่วยเด็กบางคนจะมีอาการไออย่างเดียว และมักจะมีอาการอาเจียนร่วมด้วย
การรักษาหอบหืด
การลดอาการของเด็ก
ให้เด็กมีกิจกรรมได้ตามปกติ
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ควันบุหรี่
ตัวไรฝุ่น
ตุ๊กตาที่มีขน
สัตว์เลี้ยง
ควรทำความสะอาดที่นอนอย่างสม่ำเสมอ
หากผูัป่วยควบคุมโรคหอบหืดได้ดีจะไม่มีปัญหาในการออกกำลังกาย
อากาศเย็น เด็กบางคนกระทบอากาศเย็น มักจะไอ
ใช้ยาอย่างถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม ( Relievers )
ยาชนิดพ่นจะให้ผลได้เร็ว ช่วยให้หายใจโล่งขึ้น
บางรายอาจได้รับยาพ่นกลุ่ม Corticosteroids ได้แก่ Flixotide
Evohaler (Fluticasone propionate 250 microgram) Serotide
ต้องดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกันเชื้อราในปาก
ยาลดการบวม และการอักเสบของหลอดลม (Steroid ) ควรใช้เพียงระยะสั้นๆ คือ 3 - 5 วัน
การใช้ baby haler
Baby haler ต้องล้างทำความสะอาดบ่อยๆ
หลังล้างทำความสะอาด ต้องสอนผู้ป่วยให้พ่นยาทิ้ง 1 ครั้ง เพื่อให้ยาจับผนัง ของ Spacer ก่อนเพื่อให้การพ่นครั้งต่อๆไป ยาก็จะเข้าผู้ป่วย
Bronchitis/Bronchiolitis
เกิดจาก
มีการอักเสบและอุดกั้นของหลอดลม
เชื้อที่เป็นสาเหตุบ่อยที่สุด
Respiratory syncytial virus : RSV
พบมาในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต
อายุ 6 เดือนเป็นช่วงที่พบบ่อย
กลไกการเกิด
ทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอยทำให้เกิดอาการอักเสบ
บวม และมีการคั่งของเสมหะ
อาการ
ไข้หวัดเพียงเล็กน้อย มีน้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร ร้องกวน
การรักษา
ตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ
ยาต้านการอักเสบ (Corticosteroid ) ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนและน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลป้องกันการเกิดการติดเชื้อ
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดน้ำ ดูดนมน้อยลง ซึม
เกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกใช้ตัดสิน
เด็กแรกเกิดอัตราการหายใจที่มากกว่า 60 ครั้ง/นาที
เด็ก 2 เดือนถึง 1 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 50 ครั้ง/นาที
เด็กอายุ 1-5 ปี อัตราการหายใจที่มากกว่า 40 ครั้ง/นาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เป็นเรื่องสำคัญ
เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวขับออกได้ง่าย ช่วยลดไข้
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม
ยาขับเสมหะ ยาฆ่าเชื้อ
การพยาบาล
เด็กโตต้องสอนการไออย่างถูกวิธี กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ
ในรายที่เสมหะอยู่ลึกให้ Postural drainage โดยการเคาะปอด
และSuction เพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การทำPostural drainage จะช่วยท าให้เสมหะที่อยู่
ส่วนปลายถูกกระตุ้นให้เลื่อนขึ้นมาถึงปลายสายดูดเสมหะ
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
นางสาวนันทิกานต์ สินพิทักษ์ เลขที่ 36 62111301038