Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 6 การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ความหมาย
เครื่องมือ อุปกรณ์หรือสิ่งที่ผู้วิจัยใช้เป็นสื่อสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือเครื่องมือที่เป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
ความสำคัญ
. เป็นกุญแจสำคัญนำไปสู่การหาคำตอบของการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมที่สำคัญระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและการ
รายงานผลวิจัย
ความสำคัญต่อคุณภาพของการวิจัย
ทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูลกระชับตรงประเด็นตาม
วัตถุประสงค
ประเภทของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
เครื่องมืออื่น ๆ
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 1 กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
ขั้นที่2 กำหนดประเด็นคำถามในการวิจัย
ขั้นที่ 3 สร้างข้อคำถามให้ครบทุกประเด็นตามตัวแปร
ขั้นที่ 4 ทดลองใช้(try-out ) เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 5 ขั้นตอนปรับปรุงแก้ไข เพื่อนำไปใช้จริง
การตรวจสอบเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการตรวจสอบเครื่องมือเก็บรวบรวม
ข้อมูล
การกำหนดคุณภาพของการวัด
ความตรงในการวัด (validity)
. ความเที่ยงในการวัด (reliability)
ความว่องไวในการวัด (sensitivity)
การมีความหมายในการวัด (meaningfulness)
การตรวจสอบความตรงในการวัดของเครื่องมือการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
ความหมาย
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นสามารถวัดสิ่งที่ต้องการจะวัดได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยต้องการ และวัดได้ครอบคลุมครบถ้วน ตามเนื้อหาที่ต้องการวัดและถูกต้องตรงความเป็นจริง
ประเภทของความตรงในการวัด
. ความตรงในเนื้อหา (content validity)
ความตรงตามมาตรฐาน (criterion – retated validity)
ความตรงในตัวสร้าง (construct validity)
การตรวจสอบความเที่ยงในการวัดของเครื่องมือ
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการทดสอบความเที่ยง
. วิธีการวัดซ้ า (retest-method)
วิธีการวัดแบบที่ทดสอบแทนกันได้ (alternative-form method)
วิธีการวัดแบบแบ่งครึ่ง (split-halves method)
. วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน (internal consistency method)
การเก็บรวบรวมข้อมุล
แนวคิดเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นกระบวนการที่จะให้ได้ข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษา และนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาใช้ในการตอบปัญหาของการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้จากสนาม (field data) และเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (documentary data) การก็บรวบรวมข้อมูลที่ดีจะต้องกระท าอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอน เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมนั้นมีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และมีความเที่ยงตรงสูง
การเก็บรวบรวมข้อมูลจึงถือเป็นขั้นตอนที่มีความส าคัญต่อการท าวิจัยไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าขั้นตอนอื่น ๆเป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยต้องให้ความส าคัญ เพราะข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จะต้องน ามาใช้เป็นหลักฐานในการวิเคราะห์ตีความหมาย วิจารณ์ และสรุปผลการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม
การส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบ
การนำแบบสอบถามไปส่งให้ผู้ตอบเอง
. ติดตามแบบสอบถาม
รวบรวมและสรุปจำนวนแบบสอบถาม
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเป็นรายบุคคล
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก
การสัมภาษณ์แบบเป็นกลุ่ม
การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต
สามารถทดสอบและควบคุมความถูกต้องและความเชื่อถือได้ เช่น ผลของการสังเกตจะต้องสามารถทดสอบซ้ำได้อีก
มีการบันทึกเหตุการณ์เรื่องราวอย่างมีระบบ (ไม่ใช่บันทึกสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์)
เหมาะสมสอดคล้องกับองค์ประกอบหรือปัจจัยของปรากฎการณ์ที่จะสังเกต การไปหาข้อเท็จจริงในขณะใดก็ได้โดยมิได้พิจารณาก่อนนั้นถือว่าไม่เป็นการสังเกตเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย
3.มีการวางแผนอย่างมีระบบ โดยกำหนดกรอบของการสังเกตและระยะเวลาที่สังเกต โดยพิจารณาให้
กำหนดจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจนว่าต้องการสังเกตให้ทราบในสิ่งใดหรือเรื่องใด
ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย