Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ การวัดประเมินการเรียนรู้ - Coggle Diagram
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
การวัดประเมินการเรียนรู้
ความเที่ยงตรง (Validity)
การตรวจสอบแบ่งตามเป้าหมายสําคัญได้ 3 ประเภท
ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์
การสรุปอ้างอิงถึงสมรรถนะการดําเนินงาน
เทียบความสัมพันธ์
ความเที่ยงตรงเชิงทฤษฎี
สรุปอ้างอิงสภาวะ หรือโครงสร้างทางจิตวิทยา
การวัดได้ผลตรงตามทฤษฎีของลักษณะทางจิตวิทยานั้นดีเพียงไร
ความเที่ยงตรงตามเนื้อเรื่อง
การวัดได้ผลครอบคลุมและเป็นตัวแทนมวลความรู้หรือประสบการณ์นั้นดีเพียงไร
สรุปอ้างอิงถึงมวลเนื้อเรื่อง ความรู้ หรือประสบการณ์
วิธีการตรวจสอบ 3 ประเภท
วิธีการหาความเที่ยงตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์
มี 2 ประเภท
ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ
ความเที่ยงตรงเชิงทํานาย
มีการตรวจสอบเหมือนกันโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
วิธีการหาความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญตัดสิน
วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ
วิธีการเปรียบเทียบกับกลุ่มที่คุณลักษณะนั้น ๆ อย่างเด่นชัด
วิธีการหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์และทํางาน
เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษาและเครื่องมือวัดนั้น ไม่น้อยกว่า 3 คน
ขั้นตอนในการตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
สร้างเครื่องมือตามกรอบการวัดหรือนิยามศัพท์เฉพาะ
นําเครื่องมือไปให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนพิจารณา
กําหนดกรอบการวัด นิยามศัพท์เฉพาะ
รวบรวมคําตอบจากแบบประเมินของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด(IOC)
พิจารณาคัดเลือกข้อที่มีค่า IOC อย่างน้อย 0.50 ขึ้นไป
แบ่งตามหลักฐานพยานอาจแบ่งได้เป็น 3 ชนิด
หลักฐานความเที่ยงตรงตามเกณฑ์
และหลักฐานความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
หลักฐานความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ปัจจัยที่มีผลต่อความเที่ยงตรง
ความยากง่ายของข้อสอบ
จํานวนข้อในแบบทดสอบ
ข้อสอบไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
การเรียงคําตอบอย่างเป็นระบบ
การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม
ข้อสอบที่เรียงลําดับความยากง่ายไม่เป็นระบบ
การเขียนคําชี้แจงในแบบทดสอบไม่ชัดเจน
ความเชื่อมั่น (Reliability)
ประเภท
สมมูล(แบบทดสอบประเภทความเร็วและมีเนื้อหาเป็นวิวิธพันธ์)
คงที่และสมมูล (ใช้ข้อสอบคล้ายกันและสอบซ้ำ)
คงที่(นําแบบทดสอบไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มหนึ่งสองครั้ง
ในเวลาที่ต่างกัน)
สอดคล้องภายใน
วิธีแบ่งครึ่งข้อสอบ
วิธีของ Kuder-Richardson method
สูตร KR-21
สูตร KR-20
วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของ
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่น
ความคล้ายคลึงกันของข้อสอบ
ความคล้ายคลึงกันของผู้สอบ
ความยากของข้อสอบ
ความยากของแบบทดสอบ
ความเป็นปรนัยในการให้คะแนน
การเลือกใช้วิธีการคํานวณการหาค่าความเชื่อมั่น
ทฤษฎีของความเชื่อมั่น (Theory of Reliability)
คะแนนผลการสอบที่นักเรียนสอบได้
ความคงที่ของคะแนนจริง
หรือส่วนของคะแนนผลการสอบที่ไม่เปลี่ยนแปลงนั่นเอง
ถ้าแบบทดสอบหรือแบบสอบถามใดขาดความเชื่อมั่น
และความเที่ยงตรง คะแนนผลการสอบที่ได้ก็ไม่มีความหมายแต่ประการใด
ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรง
เที่ยงตรงของแบบทดสอบจะมีค่าไม่เกิดรากที่สองของ ค่าความเชื่อมั่น