Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักเบื้องต้นของเมแทบอลิซิม - Coggle Diagram
หลักเบื้องต้นของเมแทบอลิซิม
หลักเบื้องต้นของเมแทบอลิซิม
สิ่งมีชีวิตต้องการพลังงานเพื่อการดำเนินชีวิตโดยมีกลไกทางชีวเคมีเพื่อเปลี่ยนพลังงานให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้
ดวงอาทิตย์เป็นพลังงานแสงที่สำคัญที่สุดใช้ในการสังเคราะห์น้ำตาลด้วยการสังเคราะห์แสง
สิ่งมีชีวิตใช้หลักการนี้ในการสร้างสารเคมีสารชีวเคมีต่างๆขึ้นโดยกระบวนการเมแทบอลิซึมมีจุดมุ่งหมาย 4 ประการดังนี้
1.เพื่อให้ได้พลังงานชีวเคมีและก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนพลังงาน
2.เพื่อย่อยสลายหรือเปลี่ยนแปลงโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็ก
3.เพื่อสังเคราะห์สารโมเลกุลใหญ่จากสารโมเลกุลหน่วยโครงสร้างหรือสารตั้งต้น
4.เพื่อทราบหรือเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลต่างๆให้อยู่ในรูปที่สามารถทำหน้าที่ได้
แคทาบอลิซึมและแอนาบอลิซึม
แคทาบอลิซึมเป็นกระบวนการสลายที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เล็กลง
แอนาบอลิซึมเป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตจะสร้างหรือสังเคราะห์สารโมเลกุลขนาดใหญ่ด้วยปฏิกิริยารีดักชัน
ชีวพลังงาน
สิ่งมีชีวิตทำงานโดยอาศัยปฏิกิริยาชีวเคมีต่างๆมากมายในเซลล์เพื่อให้ได้สารประกอบที่จำเป็นและได้พลังงานเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต
เกิดปฏิกิริยาชีวเคมีเหล่านี้เกี่ยวข้องกับกระบวนการการเปลี่ยนแปลงรูปพลังงานทั้งภายในเซลล์และระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อม
การสร้าง ATP
ปฏิกิริยาการเติมหมู่ฟอสเฟตในสารประกอบ หมู่ฟอสเฟตเข้าไปในโมเลกุลของ adp ซึ่งเป็นการสร้างพันธะ ฟอสโฟแอนไฮไดรด์ให้เป็น ATP
ตัวรับอิเล็กตรอนต่างปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
เป็นการดึงอิเล็กตรอนจากสารที่ทำปฏิกิริยา โดยปกตจะใช้ NAD+และ NADP+
การนำอิเล็กตรอนเข้าสู่ไมโทคอนเดรี
1 ระบบขนส่งกลีเซอรอลฟอสเฟตชัทเทิล
2 ระบบขนส่งมาเลทแอสพาเทตชัทเทิล
ระบบขนส่งอิเล็กตรอน
ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายอิ เล็กตรอน
การยับยั้งการสังเคราะห์ ATP
1 การยับยั้งเอนไซม์เอทีพีซินเทส
2 สารลดแรงขับเครื่อนโปรตอน
การควบคุมเมแทบอลิซึม
การควบคุมการทำงานของเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยา
วิธีคือใช้ วิธีคือใช้ตัวกระตุ้นหรือตัวยับยั้งและรูปที่สามารถทำงานได้
การยับยั้งที่สำคัญคือการยับยั้งด้วยผลผลิตสุดท้ายของการสังเคราะห์ในกระบวนการแอนนาบอริซึมเรียกว่าการยับยั้งแบบย้อนกลับ
ปฏิกิริยาที่ถูกควบคุมปฏิกิริยาเริ่มต้นของวิถีหรือเป็นปฏิกิริยากำหนดความเร็วในทางตรงกันข้ามการกระตุ้นจะพบในกระบวนการ เรียกว่า การกระตุ้นไปข้างหน้า
การควบคุมโดยโฮอร์โมน
เปปไทด์ฮอร์โมน
สเตรอยด์ฮอร์โมน
เอมีนฮอร์โมน
การควบคุมความเช้มช้นของเอนไซม์ที่จำเพาะในเซลล์
ความเข้มข้นของเอนไซม์ขึ้นอยู่กับสมดุลระหว่างความเร็วในการสังเคราะห์