Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 9 พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย, นางสาวนาซูฮา แซแอ…
บท 9 พยาธิสรีรวิทยาของภาวะสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
การผลิตกรดในร่างกาย
การเปลี่ยนสารอาหารเป็นกรดอินทรีย์
CO2 และกรดอินทรีย์บางส่วนถูกขับออกทางไต
การสลายสารประกอบฟอสเฟต เกิดเกลือฟอสเฟต ถูกขับออกจากร่างกายทาง
ไต
oxidation ของสารประกอบคาร์บอน เช่น กลูโคส กรดไขมัน
การควบคุมสมดุลกรด-ด่าง
H+ในพลาสมามีความเข้มข้นเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วง 44 ถึง 36 นาโนโมลต่อ
ลิตร
ค่า pH ปกติของเลือดมีค่าอยู่ระหว่าง 7.35 - 7.45
ค่า pH สูงขึ้น (> 7.45 เรียกว่า alkalosis)
ค่า pH ต่ำลง (< 7.35 เรียกว่า acidosis)
คือ การควบคุม ไฮโดรเจนไอออนในน้ำนอกเซลล์ หรือควบคุม pH ให้มี
ค่าคงที่ คือ 7.35-7.45 ท าให้การท างานของเอ็นไซม์และเมตะบอลิซึมปกติ
ความเป็นกรดในร่างกาย
Volatile acid
Fixed acid ได้แก่ กรด sulfuric และกรด phosphoric
กรดอินทรีย์ เช่น lactic acidosis
ระบบบัฟเฟอร์ (Buffer systems)
ระบบไบคาร์บอเนต/กรดคาร์บอนิก
2.ระบบฟอสเฟต(HPO4
-2/H2PO-4= 4:1)
พบมากในเม็ดเลือดแดงและใน renal tubule cell
ระบบนี้จึงสำคัญสำหรับในเซลล์มากกว่านอกเซลล์
ระบบโปรตีน
การปรับค่า pH ของเลือดให้เข้าสู่ระดับปกติ
เมื่อค่า pH ของเลือดเปลี่ยนไปจากเดิม จะมีกระบวนการปรับให้อัตราส่วนความเข้มข้นของ HCO3ต่อ H2
CO3ให้กลับมาอยู่อัตราส่วน 20 ต่อ 1
การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง
การควบคุมผ่านการหายใจ
ศูนย์หายใจในmedulla จะไวมากต่อระดับCO2 และความเป็นกรดของเลือดถ้ามีการเพิ่มขึ้นของอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างจะท าให้มีการหายใจเพิ่มขึ้น
การควบคุมโดยไต
เป็นกลไกสำคัญในการรักษาภาวะสมดุลของกรด – ด่างของร่างกายทำงานช้ากว่าระบบอื่นแต่มีประสิทธิภาพสูง
ความผิดปกติของสมดุลกรด (acidosis)
Respiratory acidosis:CO2
ถูกกำจัดออกจากร่างกายได้น้อยกว่าปริมาณที่เพิ่มขึ้น
Metabolic acidosis:
เกิดกรดไม่ระเหยจากเมตะบอลิซึม
ค่า pH ของเลือด < 7.35
Respiratory Alkalosis:
เกิดจากการหายใจเพิ่มขึ้นทำให้CO2 ออกจากร่างกายมากเกินไประดับPaCO2ในเลือดน้อยกว่า 35 mmHg
Metabolic alkalosis:
ภําวะมีHCO3 ในเลือดสูงจากการได้รับมาก
ค่า pH ของเลือดมากกว่า 7.45
Compensatory mechanism:Acid-base compensation
ปรับผ่าน Buffering system:เกิดภํายในช่วงเวลาไม่กี่วินาที สารต่างๆที่สามารถจับกับ H+ ได้ จะเข้ามาจับดังนี้
1.1 Bicarbonate system:
1.2 Hemoglobin buffering: Hemoglobin (Hb)
1.3 intracellular protein:
ปรับผ่าน Respiratory compensation:จะเกิดภายในเวลา วินาที -ระดับนาที
H+ ที่สูงขึ้นใน plasma จะกระตุ้นPeripheral chemoreceptorทำ ให้เกิด Hyperventilation
CO2 ที่สูงขึ้นจากการ buffer จะกระตุ้น Central chemoreceptorทำให้เกิด Hyperventilation เช่นกัน
ปรับผ่าน Renal compensation:จะเกิดในระดับชั่วโมง และจะเกิดจนสมบูรณ์จริงๆใช้เวลาประมาณ 3-5 วัน (ในคนปกติ)
3.1 Bicarbonate reabsorption:จะมีการกระตุ้นการดูดกลับ HCO3- มากขึ้นที่ Proximal tubule
Homeostasis
Blood & cell buffer system
Respiratory system ปรับRR เพื่อกำจัดกรด (CO2)
Renal system ขับกรด (H+) หรือขับด่าง(HCO3-)
การประเมินภาวะกรด-ด่าง
ซักประวัติการสูญเสียน้ำ เช่น อาเจียน การเสียน้ำทางอุจจาระมาก
ความผิดปกติของระบบการหายใจ
การตรวจร่างกาย
ตรวจสภาพน้ำเกิน-น้ำขาด ลักษณะการหายใจ
พบสภาพขาดน้ำ (ECF volume deficit) ร่วมกับ metabolic alkalosis
การหายใจเร็ว
การหายใจลึก Kussmaul’s breathing พบใน metabolic acidosis
นางสาวนาซูฮา แซแอ 634N46219