Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 การกำหนดโจทย์และสมมุติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 2 การกำหนดโจทย์และสมมุติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พื้นฐานแนวคิดที่ทำให้การตอบโจทย์การวิจัยมีคุณค่าที่สมดุล
ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างงานวิจัย
ความจริง
ความจริงอยูุ่เบื้องหลังความเป็นจริง
ความจริงเป็นความถูกต้องของข้อเท็จจริง
มนุษย์ต้องแสวงหาความจริงตลอดเวลา
ความเป็นจริง
ความจริงที่สมมุติ
สัจจะความจริงเอามาตีแผ่เป็นความจริง
เป้าหมายในการแสวงหาความรู้และความเป็นจริง
แนวคิดปฏิฐานนิยม
แนวคิดปรากฏการณ์นิยม
แนวคิดดครงสร้างนิยม
แนวคิดหลังสมัยใหม่
แนวคิดปฏิบัตินิยม
พื้นฐานแนวคิดที่สำคัญในการมุ่งไปถึงสิ่งที่มีหลักฐานความเป็นจริง
การหาความเป็นจริงที่แตกต่างกันระหว่า่งระเบียบวิะีทางการวิจัย
การค้นหาความเป้นจริงด้วยแนวทางเชิงระบบ
การค้นหาความเป้นจริงด้วยแนวทางแบบองค์รวม
การวิเคราะห์เพื่อหาความเแป็นจริงโดยยึดหลักของ MECE
การวิเคราะห์สถานการณ์ที่จำเป็นและพอเพียง
มุมมองปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดหัวข้อในการวิจัยที่เหมาะสม
ความเข้าใจกรอบของเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเพื่อกำหนดโจทย์การวิจัย
ปัญหาสภาวะปกติใหม่
ไทยพึ่งพาการส่งออกร้อยละ 70
ภาคเกษตรและอาหารของไทยมีความเสี่ยงมากขึ้น
นวัตกรรมก้าวกระโดเปลี่ยนรูปแบบ
การนำนวัตกรรมมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
นวัตกรรมที่ผลิตในประเทศไทยไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและผลิตไม่ครบวงจร
กลุ่มเป้าหมายเน้นหนักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
ปัญหาทรัพยากรเสื่อมโทรม
ผลที่พึ่งปรารถนาและข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำการวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
ผลได้ที่พึงปรารถนาเพื่อการนำไปใช้ให้เกิดผล
ข้อค้นพบใหม่
แนวคิดที่มำคัญที่ทำให้การตอบโจทย์ได้ผลที่พึงปรารถนา
ความรู้ความจริงที่ได้จากการวิจัยต้องปรับใช้
ข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำการวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
Plagiarism เป็นการโจรกรรมทางวรรณกรรม
cohort Effect เป็นการจัดการ treatment
Hawthorne Effect เป็นผลลัพธ์ที่เป็นฟอร์มของของการทำงานเชิงรับ
Third Variable Problem เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อตัวแปรตัวที่สามไม่ได้ควบคุม
การดำเนินการตามกระบวนการพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักในการกำหนดโจทย์ในการวิจัย
แนวคิดในการตอบโจทย์ เงื่อนไข พื้นฐานสวำคัญเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหลัก
การกำหนดประเด็นปัญหาเพื่อให้เกิดผลลัพท์ที่พึงปรารถนา
ต้องคำนึงถึงสภาวะการณ์ในปัจจุบัน
ประเด็นปัญหาต้องเชื่อมโยงในการอธิบายความเป็นจริง
ต้องกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยที่แน่ชัด
การประเมินค่าควรมองหลากหลายปัญหา
คุณลักษณะที่สำคัญของหัวข้อในการวิจัย
การเลือกหัวข้อที่เหมาะสม
เป็นหัวข้อที่ไม่ซ้ำกับงานวิจัยที่ทำมาก่อน
มีความเป้นไปได้ที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การปรึกษากับผู้รู้ หรือผู้ชี้ทาง
ความสำเร็จตามหัวข้อ ขึ้นอยูุ่กับศักยภาพของผู้ทำการวิจัย
กระบวนการสำคัญในการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
การกำหนดความสำคัญของปัญหาในการวิจัย
พื้นฐานคือมีประเด็นปัญหาในการวิจัย
ความสำคัญของโครงการ
ที่มาและเหตุผลของการวิจัย
การตั้งคำถามในการวิจัย
เป็นสิ่งที่นักวิจัยต้องการรู้และค้นหาคำตอบ
คำถามวิจัยต้องการคำตอบจากการวิจัยที่ต้องเข้าใจถ่องแท้
การได้มาของคำตอบของคำถามในการวิจัยที่ต้องการคำตอบนั้น
การกำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
เป้าหมายสูงสุด ที่นักวิจัยต้องการบรรลุถึงในการวิจัยเรื่องนั้น
วัตถุประสงค์ คือสิ่งที่ต้องการกระทำในกระบวนการวิจัย
ประโยชน์ของงานวิจัย ต้องตอบคำถามให้ชัดว่า มีความเป็นไปได้หรือไม่และเกิดประโยชน์แก่ใคร
การกำหนดกรอบความคิดและสมมุติฐาน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยเป็นแบบจำลองที่เกิดจากการสังเคราะห์
มีแนวคิดที่เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
เป็นแนวความคิดของกระบวนการที่ทำให้มีการใช้ให้เกิดผลในการขับเคลื่อนการวิจัยอย่างมีระบ
การออกแบบโครงสร้างของข้อมูล
กรอบแนวคิดสมมติฐานในการวิจัยเพื่อการทดสอบและการตั้งตามแนวทางที่เหมาะสม
การกำหนดสมมติฐาน
องค์ประกอบพื้นฐานสมมติฐานในการวิจัยเชิงปริมาณ
องค์ประกอบพื้นฐานสมมติฐานในการวิจัยเชิงคุณภาพ
แหล่งที่มาการก่อตั้งสมมติฐาน
ภาพรวมของการตั้งสมมติฐาน 4 ประเภท
จำนวนสมมติฐานที่จะตั้ง
แนวความคิดที่สำคัญ
การทบทวนวรรณกรรมพื้นฐานเป็นการประมวลความคิด
นักวิจัยเชิงปริมาณจะใช้กรอบแนวคิด ทฤษฎีมาเป็นแนวทางมรการมองปรากฏการณ์ทางสังคม
ทฤษฎีจะมีสององค์ประกอบ คือความจริงที่ปรากฎและข้อสมมติ
ทฤษฎีที่มีการทบทวน จะต้องมีประบวนการดังนี้
การตรวจสภาพของเรื่องที่จะทำการวิจัยอย่างจริงจัง
รวบรวมองค์ความรู้ที่ครอลคลุมเนื้อหาขององค์ความรู้ในทุกมิติ
ตรวจสอบการวิจัยที่มีผู้ทำมาแล้วในกลุ่มเรื่องเดียวกัน
ตรวจสอบและทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่หามาได้
แนวคิดการออกแบบและการวิเคราะห์การวิจัยเพื่อการตอบโจทย์อย่างมีระบบ
แนวคิดการกำหนดระเบียบวิธีการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การวิจัย
แนวคิดการวิจัยแบบวิธีผสม
ความรู้เป็นจริงที่ได้จากการวิจัย
การผสมผสานเป็นหนึ่งเดียวกันขิงการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ
แนวคิดการวิจัยแบบการทดลอง
แนวคิดพื้นฐานของการวิจัยแบบการทดลอง
แนวคิดความตรงภายใน
การคัดเลือกสิ่งทดลอง
การวิเคราะห์ทางสถิติที่จะช่วยยืนยันหรือปฏิเสธโมเดลเชิงสาเหตุ
แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการของการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการของการวิจัยเชิงคูณภาพ
แการจำเป็นนวคิดการวิจัยประเมินความต้อง
คล้ายคลึงกับการประเมิน
เกณฑ์สำคัญในการตัดสินความพร้อมการวิจัยแบบนีั้
หลักการสำคัญที่ใช้
แนวคิดที่สำคัญ
การวิเคราะหฺ์อย่างมีระบบเพื่อตอบโจทย์ด้วยความจริง
แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์ที่เหมาะสม
แนวคิดวิเคราะห์การวิจัยเชิงปริมาณ
แนวคิดการเก็บและวิเคราะห์การวิจัยเชิงปริมาณ
การตรวจสอบสามเส้า
แนวความคิดการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เกิดการตอบโจทย์ที่เหมาะสม
แนวคิดการวิเคราะห์ข้่อมูลความต้องการจำเป็น
การวิเคราะห์หาเหตุและผลด้วยเทคนิคการใช้แผนภูมิก้างปลา
แนวคิดการวิเคราะห์ระบบ
แนวคิดการตีความและสรุปสาระอย่างมีเหตุผลเพื่อสรุปผลการวิจัย
แนวคิดการตีความเพื่อตอบโจทย์การวิจัย
การตีความผลการวิจัยเชิงปริมาณ
การตีความผลการวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวคิดการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลเพื่อให้เกิดประโยชน์จากการวิจัยเต็มที่
การสรุปสาระอย่างมีเหตุผลของการวิจัยเชิงปริมาณ
การสรุปสาระอย่างมีเหตุผลของการวิจัยเชิงคุณภาพ