Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินการอนุรักษ์และ :star2:คุ้มครองศิลปวัฒนธรรม :star2:,…
การดำเนินการอนุรักษ์และ
:star2:คุ้มครองศิลปวัฒนธรรม :star2:
กรมศิลปากร
ในช่วงแรกได้รับมอบหมาย หน้าที่ดูแลโบราณวัตถุสถาน คือ การบูรณะ โบราณสถาน บ้ารุงรักษา โดยมีกองโบราณคดี เป็นผู้รับผิดชอบ
วิธีการอนุรักษ์ในระยะนั้นยังดำเนินการตามแนวทางของส้านักฝรั่งเศสแห่ง ปลายบูรพาทิศ คือ หลักการไม่ซ่อมแซม โบราณวัตถุแต่ค้ำจุนโบราณสถาน
หากแต่
วิธีการดังกล่าวใช้ได้เฉพาะอาคารที่สร้างด้วยหิน มิใช่อาคารก่ออิฐแบบที่พบในไทย
การอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรมให้ประสบผล จึงเป็นงานที่ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของผู้เชี่ยวชาญหลากหลายแขนง
แต่ที่สำคัญ
คือ งบประมาณ สนับสนุนจากภาครัฐ และเอกชน
การจ้าแนกประเภทของโบราณสถาน และอนุสรณ์สถานเป็นกลุ่มต่างๆ ของกรมศิลปากร
คือ
สัญลักษณ์แห่งชาติ เช่น พระบรมมหาราชวัง วัด พระบรมธาตุต่าง ๆ
อาคารสถาปัตยกรรมแห่งชาติ เช่น พระที่นั่งอนันตสมาคม
ย่านประวัติศาสตร์ เช่น เกาะรัตนโกสินทร์
นครประวัติศาสตร์แห่งชาติ เช่น เชียงใหม่ ศรีสัชนาลัย
ซากโบราณ และแหล่งโบราณคดี เช่น ปราสาทหินพนมรุ้ง
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.)
แนวทางการดำเนินงานของ สวช. ยึดถือตามนโยบายวัฒนธรรมแห่งชาติ คือ ส่งเสริมวัฒนธรรมในทุกด้าน ให้ประชาชนสามารถนำวัฒนธรรมไปพัฒนาตนและประเทศชาติ ส่งเสริมให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่น ให้ประชาชนรู้จักเลือกสรรรับวัฒนธรรมต่างแดน ให้มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรม
ผลงานที่ส้าคัญของ ส้านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) ได้แก่
การจัดตัังศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (พ.ศ.2526)
เพื่อใช้เป็น ศูนย์กลางในการให้บริการการศึกษา และส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ไทยสาขาต่าง ๆ แก่เยาวชนชาวไทย และชาวต่างชาติ
การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ.2528)
จัดทำโครงการนี้ เพื่อ ยกย่องเชิดชู และส่งเสริมเกียรติยศของศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอัน ทรงคุณค่าแก่ประเทศชาติ โดยก้าหนดให้วันที่ 24 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันศิลปินแห่งชาติ ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของรัชกาลที่ 2 องค์อัครศิลปินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
โครงการงานมหากรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน
จัดน้าเสนอในรูปแบบของนิทรรศการวัฒนธรรม และการแสดงนาฏศิลป์ คีตศิลป์ของท้องถิ่นต่าง ๆ และจัดแสดงเฉพาะในวาระสำคัญ
การจัดวันอนุรักษ์มรดกไทย
วัตถุประสงค์ เพื่อให้คนไทยตระหนัก ถึงคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นมรดกของชาติ โดย สวช. เสนอให้ใช้วันที่ 2 เมษายน ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เป็นวันอนุรักษ์มรดกไทย
การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่น (พ.ศ.2531)
จุดมุ่งหมาย เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้เป็นศูนย์กลางในการประสานงานที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมของแต่พื้นที่ ทั้งนี้อยู่ในการดูแลของ สวช.
การอนุรักษ์จากภาคประชาชน
กรณีศึกษาจากโครงการอนุรักษ์มรดกทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิหาร พระเจ้าพันองค์ ม่อนดอยวัดปงสนุก จังหวัดล้าปาง พ.ศ.2548 ซึ่งวิหารนี มีอายุ กว่า 120 ปี มีความทรุดโทรมเป็นอันมาก จึงริเริ่มให้มีการอนุรักษ์ขึ้น
โครงการอนุรักษ์วัดปงสนุก เป็นเสมือนโครงการต้นแบบให้แก่ชุมชนในพื้นที่อื่นๆ ที่จะสร้างจิตส้านึกให้ตระหนักถึงบทบาทความส้าคัญในการอนุรักษ์เพื่อชุมชนของตนเอง
ด้วยเหตุนี จึงได้รับการคิดเลือกจากองค์การยูเนสโกให้ได้รับรางวัล
Award of Merit ปี 2551
นายศตพรรษ ใจละออ เลขที่ 2 ม.4/1 :smile: