Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักเบื้องต้นของเมแทบอลิซึม - Coggle Diagram
หลักเบื้องต้นของเมแทบอลิซึม
หลักการ
กลไกทางชีวเคมีที่จัเปลี่ยนรูปพลังงานด้วยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นกับสารชีวโมเกุลโดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่ง
จุดมุ่งหมาย
ย่อยสลายให้เป็นสารต้นกำเนิด
สังเคราะห์สารโมเลกุลใหญ่
ให้ได้พลังงานชีวเคมีและเกิดการแลกเปลี่ยนพลังงาน
สร้างหรือเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุล
แคทาบอลิซึมและแอนาบอลิซึม
แคทาบอลิซึม
ย่อยสลายสารโมเลกุลใหญ่ด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชัน
เช่น การย่อยอาหาร
แอนาบอลิซึม
สังเคราะห์สารโมเลกุลใหญ่ด้วยปฏิกิริยารีดักชัน
เช่น สังเคราะห์โปรตีน
ชีวพลังงาน
การสร้าง ATP
เติมหมู่ฟอสเฟตที่ระดับซับสเตรต :เคลื่อนย้ายหมู่ฟอสเฟตจากสารประกอบพลังงานสูงให้กับ ADP โดยตรง
เติมหมู่ฟอสเฟตโดยวิธีออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน : เติมหมู๋ฟอสเฟสให้ ADP แล้วเกิดออกซิเดชันควบคู่ไปด้วย เกิดขึ้นระหว่างรับ-ส่งอิเล็กตรอนไปยังออกซิเจน
ตัวรับอิเล็กตรอนจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ดึง e- จากสารที่ทำปฏิกิริยา
ใช้ NAD+ / NADP+ ในการรับ เกิดเป็น NADH / NADPH
นำอิเล็กตรอนเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย
ระบบขนส่งกลีเซอรอลฟอสเฟตซัทเทิล : ขนส่ง NADH ผ่านเยื่อหุ้มชั้นในไมโทคอนเดรีย ส่ง e- ต่อให้ FAD ได้ 2 ATP
ระบบขนส่งมาเลทแอสพาเทตซัทเทิล : พบในตับ ไต หัวใจ , NADH ส่ง e- ให้ออกซาโลอะซิเตตในไซโทพลาสซึม เปลี่ยนเป็นมาเลทผ่านเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย NAD+จะมารับและขนส่งไปยังตัวรับต่าง ๆ จนถึงออกซิเจน ได้ 3ATP
ระบบขนส่งอิเล็กตรอน
รับ e- จาก NADH / FADH2 ไปรีดิวซ์ O2 ได้เป็นน้ำ
เกิดขึ้นในเยื่อหุ้มชั้นในไมโทคอนเดรีย ขณธขนส่งจะเกิดพลังงานอิสระจากความต่างศักย์ของประจุและความต่าง pH พลังงานอิสระถูกใช้ในการเติมหมู่ฟอสเฟตเกิดเป็น ATP
ลำดับการขนส่งอิเล็กตรอน
กลุ่มของโปรตีน II : รับ e- จากการออกซิไดซ์ซักซิเนตส่งไปยัง UQ
กลุ่มโปรตีน III : รับ e- จาก UQH2 ไปยัง Cyt c การขนส่งจาก I ไป UQ และไปที่ III จะมีการขับเคลื่อนโปรตอนเข้าสู่ผนังเยื่อหุ้มทั้ง2ของไมโทคอนเดรีย
กลุ่มโปรตีน I : รับ e- จาก NADH ส่งไปให้ยูบิควิโนน เกิดการขับเคลื่อนโปรตอนเข้าสู่ช่องระหว่างเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย
กลุ่มโปรตีน IV : Cyt a และ Cyt a3 รับ e- จาก Cyt c ไปยังออกซิเจน ใช้ 4e- เพื่อรีดิวซ์ออกซฺเจน1โมเลกุลให้เป็นน้ำ
การยับยั้งการสังเคราะห์ ATP
การยับยั้งเอนไซม์เอืีพีซินเทส ไม่ให้เกิดการสังเคราะห์ ATP
สารลดแรงขับเคลื่อนโปรตอน ผลต่างค่า pH ลดลง การสังเคราะห์ ATP ลดลง
การควบคุมเมแทบอลิซึม
ควบคุมโดยฮอร์โมน
การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดโดยฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอน
ควบคุมความเข้มข้นของเอนไซม์ที่จำเพาะในเซลล์
ขึ้นอยู่กับสมดุลระหว่างความเร็วในการสังเคราะห์และความเร็วในการสลายเอนไซม์ : ความเร็วมากขึ้นความเข้มข้นในเซลล์มากขึ้น
ควบคุมการทำงานของเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยา
กระตุ้น/ยับยั้ง ควบคุมปริมาณเอนไซม์รู)ที่สามารถทำงานได้ การยับยั้งในกระบวนการแอนาบอลิซึม การกระตุ้นแคทาบอลิซึม